ความสัมพันธ์ของความแตกฉานด้านสุขภาพกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของผู้ป่ วยโรคเบาหวานชนิดท.ี ไม่พึ.งอินซูลิน (เบาหวานชนิดที. 2) ใน อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี
Abstract
โรคเบาหวานเป็นปัญหาทีสำคัญอย่างหนึงของประเทศไทย ผู้ป่ วยโรคเบาหวานทีมีความแตกฉาน
ด้านสุขภาพตํามีแนวโน้มทีจะดูแลสุขภาพของตนเองได้ไม่ค่อยดี การวิจัยภาคตัดขวาง(Cross sectional
study) ครังนีมีวัตถุประสงค์ 1) เพือศึกษาระดับความแตกฉานด้านสุขภาพของผู้ป่ วยโรคเบาหวาน ชนิดทีไม่
พึงอินซูลิน (เบาหวานชนิดที 2) ในศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองบ้านโป่ ง อำเภอบ้านโป่ ง จังหวัดราชบุรี 2) เพือ
ศึกษาระดับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวาน 3) เพือศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความ
แตกฉานด้านสุขภาพกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวาน
ผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 400 คน (อายุ 30 – 80 ปี) ถูกคัดเลือกแบบเจาะจงจากศูนย์สุขภาพชุมชน
เมืองบ้านโป่ง อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม และ แบบประเมินระดับความ
แตกฉานด้านสุขภาพ 3 ระดับ ซึงพัฒนาโดย อิชิกาว่า วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมประมวลผลสำเร็จรูป
สถิติทีใช้ ได้แก่ ความถี (f) ร้อยละ (%) ค่าเฉลีย (̅) ค่าเบียงเบนมาตรฐาน (S.D.) และ การวิเคราะห์
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความแตกฉานทางด้านสุขภาพ กับ พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวาน
ด้วยค่าสัมประสิทธิUสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson’s correlation)
ผลการวิจัย พบว่า ผู้ป่ วยโรคเบาหวาน มีระดับความแตกฉานด้านสุขภาพในภาพรวมอยู่ในระดับตํา
(̅ = 1.80, S.D. = 0.76) และ มีพฤติกรรมการดูแลตนเองอยู่ในระดับปานกลาง ( X = 37.16, S.D. =3.218)
โดยภาพรวม ความแตกฉานด้านสุขภาพกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวาน มี
ความสัมพันธ์กันอยู่ในระดับทีตํามาก (r = 0.113, p = 0.023)
จากผลการศึกษาในครั งนี ผู้ทีทำหน้าทีดูแลรักษาผู้ป่ วยเบาหวานควรตระหนักถึงระดับความ
แตกฉานด้านสุขภาพของผู้ป่วย และ ประเมินความสัมพันธ์ระหว่าง ระดับความแตกฉานด้านสุขภาพกับ
พฤติกรรมการดูแลตนเองและการควบคุมเบาหวานของผู้ป่วยโรคเบาหวาน
Keywords
Full Text:
UntitledReferences
ขวัญเมือง แก้วดาเนิน และ นฤมล ตรีเพชรศรีอุไร .(2554). ความฉลาดทางสุขภาพ.กรุงเทพ: นิวธรรมดา
การพิมพ์.
การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ ครังที ๗ SSRU2016
ชัยชาญ ดีโรจนวงศ์ และกอบชัย พัววิไล. (2546).การวินิจฉัยและจำแนกโรคเบาหวาน ใน อภิชาตวิช ญาณ
รัตน์ (บรรณาธิการ), ตำราโรคเบาหวาน (หน้า 1 – 14). กรุงเทพ:เรือนแก้วการพิมพ์
วีรพันธ์ โขวิฑูรกิจ. (2549). สมดุลของนำตาลกลูโคสในร่างกาย ใน ธิติ สนับบุญ และ วราภณ วงศ์
ถาวราวัฒน์(บรรณาธิการ), การดูแลรักษาเบาหวานแบบองค์รวม (หน้า 1-10). กรุงเทพ: จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ.(2551) แนวทางสำหรับเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ.
พิมพ์ครังที 1. กรุงเทพมหานคร. บริษัทรุ่งศิลป์ การพิมพ์(1977)จำกัด.
อมรา ทองหงส์, กมลชนก เทพสิทธา, ภาคภูมิ จงพิริยะอนันต์, และ ธนวันต์ กาบภิรมย์. (2555). รายงาน
การเฝ้ าระวังโรคไม่ติดต่อเรือรัง พ.ศ. 2553. รายงานการเฝ้ าระวังทางระบาดวิทยาประจำสัปดาห์, 43(17),
-264
Ad Hoc Committee on Health Literacy for the Council on Scientific Affairs, American Medical
Association. (1999). Health Literacy. Report of the Council on Scientific Affairs.JAMA 281(6):552-557.
American Diabetes Association. (2007). Nutrition recommendation and interventions for diabetes 2006:
a position statement of the American Diabetes Association. American Diabetes Association. Annual
review of Diabetes 2007, p 132-149.
David W. Baker, Julie A. Gazmararian, Mark V. Williams, Tracy Scott, Ruth M. Parker, Diane Green,
Junling Ren, and Jennifer Peel. (2002). Functional Health Literacy and the Risk of Hospital Admission
Among Medicare Managed Care Enrollees. American Journal of Public Health: 92(8), pp. 1278-1283.
Gazmararian JA, Baker DW, Williams MV, Parker RM, Scott TL, Green DC, Fehrenbach SN, Ren J,
Koplan JP. (1999). Health literacy among Medicare enrollees in managed care organization. JAMA
:545-551.
Ishikawa, H., Takeuchi, T,and Yano, E. (2008). Measuring Functional, Communicative, and Critical
Health Literacy Among Diabetic Patients. Diabetes Care 31:874-879
Nutbeam, D.(2008). Health Literacy and adolescents: a framework and agenda for future research.
Health Education Research. 23(5). Published by Oxford University Press.
การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ ครังที ๗ SSRU2016
Schillinger D. , Grumbach K. , Piette J. , Wang F. , Osmond D. , Daher C. , Palacios J. , Sullivan D.G.
and Bindman B.A. (2002). Association of Health Literacy with Diabetes Outcomes. American Medical
Association. 288: 475 – 482.
Williams M.V. , Baker D.W. , Parker R.M. and Nurss J.R. (1998). Relationship of functional health
literacy to patients’ knowledge of their chromic disease: a study of patients with hypertension and
diabetes. Arch Intern Med. 158: 166-172.
Refbacks
- There are currently no refbacks.