การสำรวจพฤติกรรมสุขภาพของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี

กฤติเดช มิ่งไม้

Abstract


การวิจัยนีเป็นการวิจัยเชิงบรรยายแบบภาคตัดขวาง (cross-sectional descriptive study) เพือประเมิน
พฤติกรรมสุขภาพและ ภาวะเครียดของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ กลุ่ม
ตัวอย่างเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรีชันปี ที 1-4 จำนวน 220 ราย และเลือกสุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีการสุ่ม
Multistage Random Sampling เก็บข้อมูลโดยวิธีการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง เครืองมือทีใช้ในการวิจัยในครังนี
ประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ข้อมูลส่วนบุคคล แบบสัมภาษณ์เกียวกับพฤติกรรมสุขภาพ และแบบประเมิน
ความเครียด (ST 5) วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้สถิตเชิงพรรณนา ได้แก่ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลียเลขคณิต และ ส่วน
เบียงเบนมาตรฐาน
ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างเป็นเพศหญิง (ร้อยละ 65.9) มีอายุอยู่ระหว่าง 18-26 ปี โดยมีอายุเฉลีย
20.4 ปี เมือพิจารณาข้อมูลทางด้านสุขภาพ พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ มีดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ (ร้อยละ
50.0) มีเส้นรอบวงเอวในระดับปกติ คิดเป็นร้อยละ 83.2 สำหรับรูปแบบการเลือกรับรักษาเมือเกิดการเจ็บป่วย
ส่วนมากเป็นแบบ ซือยามารับประทานเอง (ร้อยละ 42.7) นอกจากนีกลุ่มตัวอย่างไม่มีโรคประจำตัวหรือปัญหา
สุขภาพ (ร้อยละ 64.1) และ มีพฤติกรรมการขับขียานพาหนะ โดยใส่หมวกกันน็อค/คาดเข็มครังนิรภัยทุกครัง (ร้อย
ละ 32.3) เมือวิเคราะห์พฤติกรรมการบริโภคอาหารของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า ส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการบริโภค
อาหารทีต้องปรับปรุง สำหรับข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพด้านอืนๆ พบว่า การออกกำลังกาย กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่
(ร้อยละ 59.1) ออกกำลังกายอย่างน้อย 20-30 นาที และอย่างน้อย 3 วัน/สัปดาห์ นอกจากนี กลุ่มตัวอย่างยังมี
พฤติกรรมเสียงต่างๆได้แก่ สูบบุหรี (ร้อยละ 12.8) การดืมเครืองดืมทีมีแอลกอฮอล์ (ร้อยละ35.0) ใช้ช้อนกลางทุก
ครัง (ร้อยละ16.4) การล้างมือด้วยสบู่ก่อนทานอาหารทุกครัง (ร้อยละ16.4) สำหรับพฤติกรรมการนอนหลับ กลุ่ม
ตัวอย่างส่วนใหญ่ได้รับการพักผ่อนนอนหลับทีเพียงพอ (6-8 ชัว โมง) คิดเป็นร้อยละ 61.4 และในส่วนของระดับ
ความเครียด พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนมากมีความเครียดในระดับปานกลาง (ร้อยละ 49.5) รองลงมาคือ เครียดน้อย/
ไม่เครียดเลย และ เครียดมาก (ร้อยละ 27.3 และ 13.2 ตามลำดับ)

ผลการสำรวจพฤติกรรมเสียงต่อสุขภาพในครังนีเป็นข้อมูลพืนฐานและสามารถใช้ประโยชน์ในการจัด
โครงการเพือลดพฤติกรรมเสียง และสร้างเสริมสุขภาพของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ต่อไป


Keywords


พฤติกรรมสุขภาพ, การดูแลสุขภาพ, นักศึกษา

Full Text:

Untitled

References


กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. (2550). เครืองมือการเฝ้าระวัง พฤติกรรมสุขภาพ.

กรุงเทพฯ: บริษัทนิวธรรมดาการพิมพ์ (ประเทศไทย) จำกัด

การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ ครังที ๗ SSRU2016

จักรพันธ์ ชมสวน และสมภพ พรมใย. (2550) การประเมินภาวะสุขภาพของนักศึกษาเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

สืบค้นจาก http://www.pharmacy.mahidol.ac.th/th /service-research-special-abstract.php?num=42&.

ถนอมรัตน์ ประสิทธิเมตต์. (2555). การเปลียนพฤติกรรมการกินภาพลักษณ์ของวัยรุ่น. วารสารองค์การเภสัชกรรม, 38.

ประภาเพ็ญ สุวรรณ. (2536). พฤติกรรมศาสตร์ พฤติกรรมสุขภาพและสุขศึกษา. คณะสาธารณสุขศาสตร์

มหาวิทยาลัยมหิดล. กรุงเทพฯ

มนทกานติ ตระกูลดิษฐ์ และ อำนาจ ค้ายาดี. (2556). การพัฒนาเครื%องมือเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพของคนไทย. กองสุข

ศึกษา, กระทรวงสาธารณสุข.

รณภพ เอือพันธเศรษฐ, วิยะดา ตันวัฒนากูล. (2548). ทัศนคติและพฤติกรรมสุขภาพของนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

วารสารสร้างเสริมสุขภาพ, 2: 25-35.

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม. (2557). สารประชากร.กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหิดล.

สุนันทา ยังวนิชเศรษฐ. (2549). พฤติกรรมสุขภาพ และพฤติกรรมเสียงต่อสุขภาพของนักศึกษา

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. สงขลานครินทร์เวชสาร, 24 (5): 395-405.

สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ (2558).แนวโน้มทางสุขภาพ.ค้นเมือ 17 พฤศจิกายน 2558, จาก สำนักงานปลัดกระทรวง

สาธารณสุข เว็ปไซด์: ปีที 7 http://www.hiso.or.th/hiso/visualize/Index.php.

อรวรรณ ศิลปกิจ.(2551). แบบวัดความเครียดฉบับศรีธัญญา. วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย , (16), 177-185.

Lee A, Tsang CK. (2005).Youth risk behavior in a Chinese population: a tertiary-wide youth risk behavior

Surveillance in Hong Kong. Public, 118: 88-95.

McQueen, A.(2003) Acculturation, substance use, and deviant behavior: examining separation and family conflict as

mediators. Child Dev., 74(6):1737-1750.

Ruangkanchanasetr S, et al.(2005). Youth risk behavior survey: Bangkok,Thailand. J Adolesc Health, 36:227-35.

Wilson DB, Smith BN, Speizer IS, Bean MK, Mitchell KS, Uguy LS, et al. (2005). Differences in food intake and

exercise by smoking status in adolescents. Preventive Medicine, 40:872-9.

Yamane, Taro. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. Third editio. Newyork : Harper and Row Publication.


Refbacks

  • There are currently no refbacks.