ระบบความรับผิดชอบต่อสังคม : นวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

เปขณางค์ ยอดมณี

Abstract


          ความยั่งยืนเป็นเป้าหมายสำคัญของการบริหารจัดการองค์กรในปัจจุบัน บทความฉบับนี้นำเสนอมุมมองของการองค์กรปัจจุบันที่มีความเป็นระบบเปิด  การบริหารจัดการให้ยั่งยืนทำให้องค์กรต้องปรับทัศนะให้มองออกไปยังสิ่งแวดล้อมภายนอกซึ่งเกี่ยวข้องกับสังคม  ความสัมพันธ์ขององค์กรกับสังคมภายนอกทำให้องค์กรต้องรับผิดชอบต่อผลกระทบที่เกิดขึ้น ระบบความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate social responsibility: CSR) เป็นระบบสำคัญที่ทำให้เกิดกระบวนการรับผิดชอบที่องค์กรมีต่อสังคม รูปแบบของความรับผิดชอบต่อสังคม ภาวะผู้นำที่เชื่อมโยงกับความรับผิดชอบต่อสังคม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในฐานะที่เป็นผู้นำที่เป็นต้นแบบการพัฒนาที่ยั่งยืน  การองค์กรพึงต้องวิเคราะห์ผลกระทบของการดำเนินงานขององค์กรที่มีต่อสังคมภายนอก รวมทั้งวิเคราะห์ผลกระทบของสังคมภายนอกที่มีต่อองค์กร  เมื่อเกิดความเอื้ออาทรที่ดีระหว่างกันแล้ว องค์กรก็สามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างยั่งยืน อย่างไรก็ตามบทความนี้นำเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาระบบCSR เพื่อความยั่งยืน รวมทั้งแนวคิดทฤษฎีและตัวอย่างนวัตกรรมบางประการของระบบ CSR ที่น่าสนใจ


Keywords


ความรับผิดชอบต่อสังคม

Full Text:

Untitled

References


“ถวายรางวัล"นักวิทยาศาสตร์ดินฯ" ให้ "ในหลวง" ข่าวในพระราชสำนัก”. (2555, เมษายน 16). เดลินิวส์.

พิพัฒน์ ยอดพฤติการ. (2550, มกราคม 9). “ซีเอสอาร์:รูปธรรมของความพอเพียงในธุรกิจ”. กรุงเทพธุรกิจ, หน้า 10.

อนันตชัย ยูรประถม. (2550). CSR จากแนวคิดสู่วิธีปฏิบัติ. จาก http://www.stjohn.ac.th/sju/med/intranet/download/26_01_2011_12_25_58_csr.pdf.

Blackwell, R. (2008). The double-edged sword of corporate altruism. The Globe and Mail: November, 10.

Chan, K. C., Fung, H., & Yau, J. (2010). Business ethics research: A global perspective. Journal of Business Ethics. 95, 39–53.

Waldman, D. A., & Siegel, D. (2008). Defining the socially responsible leader. The Leadership Quarterly. 19(1), 117–131.

Walumbwa, F. O., Avolio, B. J., Gardner, W. J., Wernsing, T. S., & Peterson, S. J. (2008). Authentic leadership: Development and validation of a theory-based measure. Journal of Management. 34(1), 89–126.

Birgitte Als. (2010). CSR-Driven Innovation – Combining design and business in a profitable and sustainable way. Nordic Innovation Center, Oslo.


Refbacks

  • There are currently no refbacks.


ยินดีรับบทความวิชาการทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ที่ยังไม่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ในวารสารใดมาก่อน กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการแก้ไขต้นฉบับและการพิจารณาตีพิมพ์ตามลำดับก่อนหลัง