การสร้างและพัฒนารูปแบบการบริหารงานกิจการนักศึกษาสำหรับการศึกษาในระดับอุดมศึกษาของเอกชน
Abstract
การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างและพัฒนา
รูปแบบการบริหารงานกิจการนักศึกษา สำหรับ
การศึกษาในระดับอุดมศึกษาของเอกชนโดยศึกษา
และวิเคราะห์เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ
ปัญหา อุปสรรคโครงสร้าง แนวคิด หลักการบริหาร
กิจการนักศึกษาเพื่อกำหนดกรอบการบริหารงาน
กิจการนักศึกษาและสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งเป็น
ผู้ที่มีประสบการณ์เกี่ยวกับการบริหารกิจการ
นักศึกษาระดับอุดมศึกษาเอกชน เป็นเวลาไม่น้อย
กว่า 5 ปี และมีคุณวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาเอก จำนวน
17 คนโดยใช้เทคนิคเดลฟายเพื่อนำมาสร้างรูปแบบ
การบริหารงานกิจการนักศึกษาที่มีคุณภาพ ผลการ
วิจัยพบว่า รูปแบบการบริหารงานกิจการนักศึกษา
สำหรับการศึกษาในระดับอุดมศึกษาของเอกชน
ประกอบไปด้วยโครงสร้าง 5 ด้าน คือ 1) ปรัชญา
ของกิจการนักศึกษา 2) นโยบายของกิจการ
นักศึกษา 3)วัตถุประสงค์ของกิจการนักศึกษา
4)ขอบเขตของกิจการนักศึกษา 5) กระบวนการ
บริหารกิจการนักศึกษาผลการตรวจสอบคุณภาพ
เบื้องต้นด้านความถูกต้องเหมาะสมโดยผู้ทรงคุณวุฒิ
จำนวน 5 ท่าน พบว่ามีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.6 คิดเป็น
ร้อยละ 92.0 ซึ่งแต่ละด้านมีความถูกต้องเหมาะสม
อยู่ในระดับสูง ซึ่งผู้วิจัยจะนำรูปแบบที่ได้ไปทดลอง
ใช้ในสถาบันอุดมศึกษาเอกชนเป็นลำดับต่อไป
Keywords
Full Text:
PDFReferences
กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2556). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา, กระทรวงศึกษาธิการ.
กิติมา ปรีดีดิลก. (2532). การบริหารและการนิเทศนักศึกษาเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: อักษราพิพัฒน์.
จีรวัฒน์ วีรังกร. (2554). “ทิศทางการพัฒนานิสิตนักศึกษาเพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะบัณฑิตไทยสู่โลกสากล”. ระบบออนไลน์. http://newgrad.sa.ku.ac.th/index.php.
จิตติมา ลัพธ์จิโรสกุล. (2534). ความต้องการบริการด้านกิจการนักศึกษาของนักศึกษาพยาบาลในวิทยาลัยภาคเหนือ สังกัดกองงานวิทยาลัยพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
เจริญ กระบวนรัตน์. (2544). วิทยาศาสตร์การกีฬา การพัฒนาขีดความสามารถของนักกีฬาและการจัดทำแผนการฝึกซ้อม, อบรมเชิงปฏิบัติการ.
ธงชัย สันติวงษ์. (2531). หลักการจัดการ. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
ธนีนาฎ ณ สุนทร. (2545). การพัฒนารูปแบบและกลยุทธ์การบริหารคุณภาพสำหรับกิจการนักศึกษา. กรุงเทพมหานคร. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปัทมา ปานบุญห้อม (2555). การบริหารงานกิจการนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดลอำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ปริยากร มนูเสวต. (2553). รูปแบบการบริหารงานกิจการนักศึกษาที่มีประสิทธิผล ของมหาวิทยาลัย เอกชนในประเทศไทย. มหาวิทยาลัยอิสเทิร์นเอเชีย: จังหวัดปทุมธานี.
วัลลภา เทพหัสดิน ณ อยุธยา. (2530) งานบุคลากรนิสิตนักศึกษา. กรุงเทพมฯ: ภาควิชาอุดมศึกษา คณะครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วัลลภา เทพหัสดิน ณ อยุธยา. (2543). การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม นิสิตนักศึกษา. กรุงเทพฯ: ส่วนวิจัยและพัฒนา สำนักมาตรฐานอุดมศึกษา. ทบวงมหาวิทยาลัย.
สำเนาว์ ขจรศิลป์. (2550). หลักการบริหารกิจการนักศึกษา. กรุงเทพมหานคร:มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เอนก ลลิตวสุภิญโญ. (2555). รูปแบบการบริหารงานกิจการนักศึกษาที่พึงประสงค์ กรณีศึกษานักศึกษาภาคปกติ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม: จังหวัดนครปฐม.
Good, Carter V. (1973) Dictionary of Education. New York: McGraw-Hill.
Herron, Orley R. (1970). New Dimensions in Student Personnel AdministrationScranton International Textbook.
Jones. (1975). Principle of Guidance. New York, Me Graw – Hall Inc.,
Knowles, A.E. (1970). Handbook of College and University Administration Academic. New York: McGraw Hill.
Lewis. (1981). Margaret Suaan. “The Development of a SystematicNeeds Assessment Model for Student Personnel Program Planning: A Cluster Analytic Approach,” Dissertation Abstracts International. 41: 3447-A; February, 1981.
Mueller, kate Havner. (1961) Student Personnel Work in Higher Education. New York: McGraw-Hill.
Refbacks
- There are currently no refbacks.
ยินดีรับบทความวิชาการทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ที่ยังไม่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ในวารสารใดมาก่อน กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการแก้ไขต้นฉบับและการพิจารณาตีพิมพ์ตามลำดับก่อนหลัง