ความคาดหวังและการรับรู้ต่อคุณภาพการบริการของสนามบิน ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
Abstract
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อความคาดหวังในคุณภาพการบริการของผู้ใช้บริการสนามบินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อการรับรู้ในคุณภาพการบริการของผู้ใช้บริการสนามบินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อแนวโน้มการใช้บริการสนามบินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือซ้ำ และ 4) ศึกษาความแตกต่างของความคาดหวังและการรับรู้ในคุณภาพการบริการของผู้ใช้บริการสนามบินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การทดสอบสมมติฐานใช้สถิติการเปรียบเทียบความแตกต่างค่าที ที่เป็นอิสระต่อกัน การเปรียบเทียบความแตกต่างค่าที ที่ไม่เป็นอิสระต่อกัน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว เมื่อพบความแตกต่างจะใช้การเปรียบเทียบเป็นรายคู่ด้วยการด้วยวิธีของเซฟเฟ่ จากการทดสอบสมมติฐานพบว่า 1) ด้านความคาดหวังในคุณภาพการให้บริการของผู้ใช้บริการสนามบินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบว่า ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ของผู้ใช้บริการที่แตกต่างกันมีผลต่อความคาดหวังในคุณภาพการให้บริการของผู้ใช้บริการสนามบินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่แตกต่าง 2) ด้านการรับรู้ในคุณภาพการให้บริการของผู้ใช้บริการสนามบินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบว่าสถานภาพการสมรส ระดับการศึกษา และรายได้ของผู้ใช้บริการที่แตกต่างกันมีผลต่อการรับรู้ในคุณภาพการให้บริการของผู้ใช้บริการสนามบินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่แตกต่าง 3) ด้านการใช้บริการซ้ำของผู้ใช้สนามบินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบว่าสภาพการสมรส อาชีพ และรายได้ของผู้ใช้บริการที่แตกต่างกันมีผลต่อการใช้บริการของผู้ใช้บริการสนามบินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือซ้ำที่แตกต่าง และ 4) ความคาดหวังในคุณภาพการของผู้ใช้บริการสนามบินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่แตกต่างกันมีผลต่อการรับรู้ในคุณภาพคุณภาพการของผู้ใช้บริการสนามบินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
Keywords
Full Text:
UntitledReferences
กมลวัฒน์ ยะสาวรรณ. (2547). การรับรู้กฎระเบียบของพนักงานท่าเรือแหลมฉบัง. ปัญหาพิเศษ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต นโยบายสาธารณะ, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา.
กรมตรวจสอบบัญชีสหกรณ์. (2555). สืบค้นเมื่อ พฤษภาคม 12, 2560, จาก www.cad.go.th.
กรมท่าอากาศยาน. (2559). สืบค้นเมื่อ พฤศจิกายน 20, 2560, จาก https://www.airports.
go.th/th/content/349/1394.html.
กฤติยา เวสวรรณ และคณะ. (ม.ป.ป.). การรับรู้ในปัจจัยคุณภาพการบริการประปาในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล. วารสารวิจัย มทร. สืบค้นเมื่อ กรกฎาคม 3, 2560, จาก journal.rmutk.ac.th/index.php/rmutk/ article/download/28/127.
กัลยา สร้อยสิงห์. (2559). ความคาดหวังและการับรู้ต่อความพึงพอใจในคุณภาพการบริการของผู้ใช้บริการโรงแรมในเขตเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 10(1), 216-238.
เจตฑถ์ ดวงสงค์ถ์. (ม.ป.ป.). ทฤษฎีความคาดหวัง. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
ใจเพชร อรกาล. (2548). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลในจังหวัดอำนาจเจริญ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
ณรงค์ ทรวงโพธิ์. (2552). ความคาดหวังและความพึงพอใจของผู้ใช้บริการต่อการบริการจ่ายสิ่งของ ขนาดใหญ่ของไปรษณีย์นครราชสีมา. การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลอีสาน.
ทันดร ธนะกูลบริภัณฑ์. (2552). คู่มือจัดองค์ความรู้ มาตรฐานการให้บริการ สำนักการศึกษาต่อเนื่อง. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ธนทัศน์ ธนีสันต์ และอภิเทพ แซ่โค้ว. (2559). ความคาดหวังและการรับรู้ของผู้บริโภคที่มีต่อการให้บริการของธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย. สุทธิปริทัศน์, 30(94), 154-167.
บัณฑิต เผ่าวัฒนา. (2548). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการปัญหาน้ำเสียในคลองแม่ข่า ตำบลช้างคลาน เทศบาลนครเชียงใหม่. การค้นคว้าแบบอิสระปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ. (2542). ระบบการศึกษา. สืบค้นเมื่อ พฤษภาคม 10, 2460, จาก http://www.moe.go.th.
พัชราวัล พันธศิลาโรจน์. (2551). ปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้. กรุงเทพฯ: ดอกหญ้า.
มยุรี บุญยัง. (2554). ความคาดหวัง การรับรู้จริงของพนักงานต่อคุณภาพการให้บริการ การจ้างงานบุคคลภายนอก ของ ธนาคารธนชาต จำกัด (มหาชน) สำนักงานในกรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ยุพา ตั้งตน. (2538). ประสิทธิผลของระบบและกระบวนการให้บริการของกรุงเทพมหานคร: ศึกษากรณีสำนักงานเขตมีนบุรี. ภาคนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ราชบัณฑิตยสภา. (2552). สืบค้นเมื่อ พฤษภาคม 12, 2560, จาก http://www.royin.go.th.
_______. (2545). สืบค้นเมื่อ พฤษภาคม 10, 2560, จาก http://www.royin.go.th/?.
วันชัย มีชาติ. (2548). พฤติกรรมการบริหารองคกรสาธารณะ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิมลรัตน์ หงส์ทอง. (2555). ความคาดหวังและการรับรู้คุณภาพการให้บริการลูกค้าธนาคารออมสิน สาขาวัชรพล. สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2538). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป์. (2547). หลักการตลาด. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ท้อป.
สามารถ ยิ่งคำแหง. (2553). แนวทางการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของชาวบ้านหินหล่องในเขตพื้นที่
องค์กรบริหารส่วนตำบลตะเคียน อ. ด่านขุนทด จ. นครราชสีมา. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.
สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง. (2546). สืบค้นเมื่อ พฤษภาคม 12, 2560, จาก http://www.fpo.go.th.
สำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย. (2557). สืบค้นเมื่อ พฤษภาคม 10, 2560, จาก https://www.caat.or.th/th/archives/3491.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2560). นิยามโครงสร้างสำมะโน/สำรวจ. สืบค้นเมื่อ พฤษภาคม 10, 2560, จาก http://service.nso.go.th.
สิทธิโชค วรานุสันติกุล. (2524). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ: รวมสาส์น.
สุนันท์ นิลพวง. (ม.ป.ป). ความคาดหวังและการรับรู้คุณภาพของผู้โดยสารที่มีต่อการให้บริการรถโดยสารสถานีขนส่งสายใต้. วารสารวิทยาการจัดการ Journal of Management Science, 96-109.
อาคม ไตรพยัคฆ์. (2547). ความผูกพันต่อองค์การของ ข้าราชการตำรวจกองตำรวจสื่อสารสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
อินทิรา จันทรัฐ. (2552). ความคาดหวังและการรับรู้จริงต่อคุณภาพการบริการสายการบิน ต้นทุนต่ำเที่ยวบินภายในประเทศ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
อุไร ดวงระหว้า. (2554). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อคุณภาพการให้บริการศูนย์บริการ One Stop Service: กรณีศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
อุทุมพร แม้นศิริกุล. (2550). ปัจจัยการปฏิบัติงานของพนักงานและระดับคุณภาพการให้บริการของศูนย์บริการโตโยต้าในจังหวัดปทุมธานี. วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี.
เอกรัตน์ สุวรรณกูล. (2557). ความคาดหวังต่อการเดินทางด้วยรถไฟความเร็วสูงของผู้โดยสารชาวไทย เทียบกับ การเดินทางด้วยสายการบินต้นทุนต่ำและแนวโน้มพฤติกรรมในเส้นทางกรุงเทพฯ – เชียงใหม่. วารสารวิชาการการท่องเที่ยวไทยนานาชาติ, 10(2), 87-100.
Holland, D. V. (2011). Utility maximization? An expectancy view of entrepreneurial persistence, Management Research Review, 34(3), 337-352.
Hrebiniak, L. & Alutto, A. (1972). Personal and Role-Related Factor in the Development of Organizational Commitment. Administrative Science Quarterly, 17(December), 555-572.
Katz, Danet, & Branda. (1973). Bureaucracy and the Public. New York: Basic Book Inc.
Kotler, P. & Armstrong, G. (1996). Principles of marketing (8 th ed.). Singapore: Prentice-Hall.
Schermerhorn, Hunt & Osborn. (2003). Organizational Behavior (8 9th ed.). New York Wiley.
Vroom, V. H. (1964). Work and motivation. New York: John Wiledky & Sons.
Yamane, T. (1967). Statistics: An introductory analysis (2 nd ed.). New York: Harper and Row.
Refbacks
- There are currently no refbacks.
ยินดีรับบทความวิชาการทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ที่ยังไม่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ในวารสารใดมาก่อน กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการแก้ไขต้นฉบับและการพิจารณาตีพิมพ์ตามลำดับก่อนหลัง