การปรับปรุงกระบวนการบริการแผนกผู้ป่ วยนอกคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล
Abstract
วัตถุประสงค์ของการศึกษาเพือศึกษาปัญหาความต้องการและเพือปรับปรุงกระบวนการบริการ
แผนกผู้ป่วยนอกคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาลตามแนวคิดของ LEAN โดยใช้แบบสอบถาม และแบบ
สัมภาษณ์กึงโครงสร้าง เก็บรวบรวมข้อมูล ตังแต่เดือนมีนาคม พ.ศ. 2556 ถึงเดือน เมษายน พ.ศ. 2557 กลุ่ม
ตัวอย่างในการตอบแบบสอบถามคือในผู้รับบริการจำนวน 400 คน กลุ่มผู้ให้ข้อมูลคือหัวหน้าพยาบาลและ
พยาบาลวิชาชีพ จำนวน 25 คน นำข้อมูลทีได้มาวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ และวิเคราะห์เชิงเนือหาพบว่าระดับ
ความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อกระบวนการบริการสูงสุด คือด้านความน่าเชือถือ/ความปลอดภัยของ
บริการ (Χ= 4.33, S.D = 0.57) ผู้รับบริการต้องการให้ลดระยะเวลารอตรวจมากทีสุด (ร้อยละ 17.75)
สามารถปรับปรุงกระบวนการบริการตามแนวคิด LEAN และได้ผังมอบหมายการปฏิบัติงานใหม่ จากเดิม 5
ขันตอน 24 กระบวนการเป็น 5 ขันตอน 37 กระบวนการ ดัชนีวัดคุณภาพบริการรวม 27 ข้อ
Keywords
Full Text:
UntitledReferences
กระทรวงสาธารณสุข. (2542). มาตรฐานการพยาบาลในโรงพยาบาล (พิมพ์ครังที 2). กรุงเทพฯ: สามเจริญ
พานิช.
เกศินี ศรีคงอยู่. (2543). ความพึงพอใจของผู้รับริการแผนกผู้ป่ วยนอกโรงพยาบาลปากท่อราชบุรี. ปริญญา
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารสาธารณสุข มหาวิทยาลัยมหิดล. หน้า 12.
จริยา อู่สิงห์สวัสดิ% . (2547). การออกแบบระบบบริหารกระบวนการอย่างมีคุณภาพของคลินิกนอกเวลา:
กรณีคลินิกเวชกรรมฟื นฟูนอกเวลา วิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล.
ปริญญาครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาการจัดการคุณภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา.
ฉัตรวรัญ องคสิงห์และคณะ. (2549). รายงานผลโครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการเพือพัฒนารูปแบบการจัดระบบ
บริการสุขภาพของชุมชนตำบลโคกกระชายอำเภอครบุรี. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขจังหวัด
นครราชสีมา.
ธีรพร สถิรอังกูร. (2550). การประเมินคุณภาพงานบริการพยาบาลผู้ป่วยนอก&ด้านการปรึกษาสุขภาพ.
กรุงเทพฯ: สำนักการพยาบาล.
ฝ่ายพัฒนาและประกันคุณภาพ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร. (2555). ผล
การสำรวจความพึงพอใจในการใช้บริการผู้ป่วยนอกในช่วงเดือนมกราคม– มีนาคม พ.ศ. 2555. ใน
เอกสารรายงานผลการปฏิบัติงานของหน่วยงาน ประจำปี 2555. (ไม่ปรากฏเลขหน้า). กรุงเทพฯ:
คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร.
ยงยุทธ์ พงษ์สุภาพ. (2541). ทางเลือกใหม่ระบบบริการสาธารณสุข. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิโกมลคีมทอง.
หน้า 34.
การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ ครังที ๗ SSRU2016
โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ. (2555). พัฒนาคุณภาพระบบบริการผู้ป่วยนอกในปีงบประมาณ
สืบค้นเมือ มิถุนายน 23, 2555, จาก
http://www.hospital.tu.ac.th/doc/ha/270355/PDF_p/01.pdf
วิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล. (2544, มิถุนายน 1). คู่มือการปฏิบัติการพยาบาล.
วีรพจน์ ลือประสิทธิ%สกุล. (2544). TQM LIVING HANDBOOK ภาคห้าการบริหารกระบวนการอย่างมี
คุณภาพ Quality Process Management ตอนที 1 สถาปนาระบบ. กรุงเทพฯ : บริษัทโทเรอินเตอร์
เนชัน แนลเทรดดิง.
ศรีสมร ภู่มะลิ. (2550). การปรับปรุงกระบวนการบริการแผนกผู้ป่ วยนอก โรงพยาบาลลาดพร้าว. ปริญญาครุ
ศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาการจัดการคุณภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา.
ศูนย์ประกันคุณภาพการศึกษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. (2551, พฤษภาคม). การ
จัดทำมาตรฐานและการปรับปรุงบริการ. QA-NEWS : KMITMB. (ไม่ปรากฏเลขหน้า). สืบค้นเมือ
สิงหาคม 3, 2555, จาก http//www.qa.kmutnb.ac.th/qa_news/2551/QANEWS168_25510515.pdf
สุเมธ พีรุวฒิ. (2553). การบริหารจัดการองค์กรเพือขจัดความสูญเปล่าในระบบงานโรงพยาบาล. (หน้า 7-
. ห้องประชุมชัน 2 อาคารเรียนรวมคณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชียงใหม่:
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
หน่วยเวชระเบียนและเวชสถิติ ฝ่ายวิชาการ. (2553). สถิติผลการปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ 2553. (ไม่ปรากฏ
เลขหน้า). กรุงเทพฯ: คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร.
_________. (2554). สถิติผลการปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ 2554. กรุงเทพฯ: คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล
มหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร.
Aday, L.A. & Anderson, R. (1975). Development of Induce of Access of Medical Care. Michigan Ann
Abor: Health Administration Press.
Refbacks
- There are currently no refbacks.