การเลือกจุดฝังเข็มและเส้นลมปราณ ที่ใช้ในการรักษาโรคไมเกรน

นภษร แสงศิวะฤทธิ์

Abstract


การศึกษาวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์หาหลักเกณฑ์การเลือกจุดฝังเข็มและเส้นลมปราณ ที่ใช้ในการรักษาโรคไมเกรน โดยใช้วิธีการสืบค้นข้อมูลการวิจัยทางคลินิกของการรักษาโรคไมเกรนด้วยการฝังเข็ม จาก Online database ของประเทศจีน และใช้ Program Microsoft Excel ในการสรุปและจัดการข้อมูล รวมถึงแปลผลทางด้านสถิติ ซึ่งผลการวิจัยในการรักษาโรคไมเกรน มีจุดฝังเข็มที่ใช้บ่อย 3 อันดับแรกได้แก่ จุด 风池(GB-20,Fēngchí), 太阳(EX-HN5,Tàiyáng), 率谷(GB-8,Shuàigǔ) และเส้นลมปราณที่ใช้บ่อย 3 อันดับแรกได้แก่ เส้นลมปราณถุงน้ำดี เส้นลมปราณลำไส้ใหญ่ และสุดท้ายเส้นลมปราณตับ จากผลการวิจัยพบว่า การเลือกจุดและการเลือกเส้นลมปราณที่มาใช้รักษาโรคไมเกรนนั้น ได้เลือกตามหลักการทฤษฎีการฝังเข็ม ซึ่งประกอบด้วย การเลือกจุดใกล้ การเลือกจุดไกล การเลือกจุดตามอาการ และการเลือกจุดตามกลุ่มอาการสาเหตุของโรค อย่างครบถ้วน


Keywords


ไมเกรน; ฝังเข็ม; จุดฝังเข็ม

Full Text:

PDF

References


韩艳庆,刘清军.偏头痛外科治疗[J].中国现代神经疾病杂志,2013,13(10):848-851.

Antonaci F,Dumitrache C,De Cillis I,et al.A review of current European treatment guidelines for migraine[J].J Headache Pain.2010 Feb,11(1):13-9.

World Health Organization.Acupuncture:Review and Analysis of Reports on Controlled Clinical Trials,World Health Organization.Geneva:World Health Organization.2002:WHO

Press,2003:23.

刘鸣.系统评价、Meta-分析设计与实施方法[M].北京:人民卫生出社,2011:14-23.

杨雄庆.针刺对偏头痛的临床疗效观察[J].浙江中医药大学学报,2013,37(5):617-619.

李悦.针刺四关穴治疗偏头痛32例[J].上海针灸杂志,2010,29(11):733.

赵建群,戴剑华,易恒.针刺治疗肝阳上亢型偏头痛36例疗效观察[J].河北中医药学报,

,24(2):45.

谢国松.针刺治疗颈性偏头痛疗效观察[J].上海针灸杂志,2009,28(5):268-269.

郑盛惠,吴玉娟,焦建凯,等.赤凤迎源针法治疗偏头痛临床疗效及对血浆内皮素、一氧化氮水平的影响(英文)[J].World Journal of Acupuncture-Moxibustion,2013,23(3):46-49.

梅晓明.头痛八针治疗偏头痛临床疗效观察[J].中西医结合心脑血管病杂志,2011,9

(3):377-378.

梁日楚.针刺治疗偏头痛临床疗效观察[J].中国医药导刊,2011,13(5):775-776.

孙怡,杨任民,韩景献主编.实用中西医结合神经病学(第2版)[M].北京:人民卫生出版社,2011.443-445.

王永炎,张伯礼.中医脑病学[M].北京:人民卫生出版社,2007:761-763.

Headache Classification Subcommittee of the lnternational Head-ache Society.The international classification of headache disorders:2nd edition[J].Cephalalgia,2004,24

(suppl. 1):9-160.

中华医学会.临床诊疗指南:神经病学分册[M].北京:人民卫生出版社,2006.151-152.

孙国杰.中医药学高级丛书:针灸学[M].北京:人民卫生出版社,2000.717-719.

石学敏.中医药学高级丛书:针灸治疗学[M].北京:人民卫生出版社,2001.302-308.

石学敏.石学敏实用针灸学[M].北京:中国中医药出版社,2009.329.

齐保健,刘春景.关于开展中医药学循证研究的思考[J].新疆中药,2010,28(2):16-17.

施毅.循证医学在中医药领域中的应用现状与前景[J].中国中医药信息杂志,2010,

(6):1-2.


Refbacks

  • There are currently no refbacks.