การศึกษาเปรียบเทียบเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้บริโภคที่มีต่อตัวแทนการท่องเที่ยวออนไลน์ระหว่างเบบี้บูมเมอร์, เจนเนอเรชั่นเอ็กซ์และ เจนเนอเรชั่นวายในการซื้อผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวและบริการ

ถนอมขวัญ ทองโปร่ง

Abstract


[1]การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยต่าง ๆ เพื่อ (1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคของเบบี้บูมเมอร์, เจนเนอเรชั่นเอ็กซ์และเจนเนอเรชั่นวายที่มีต่อการซื้อผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวและบริการผ่านตัวแทนการท่องเที่ยวออนไลน์; (2) เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมผู้บริโภคระหว่างเบบี้บูมเมอร์, เจนเนอเรชั่นเอ็กซ์และเจนเนอเรชั่นวายที่มีต่อการซื้อผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวและบริการผ่านตัวแทนการท่องเที่ยวออนไลน์

สถิติที่ใช้ประกอบวิธีการวิจัยคือสถิติพรรณนากลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ ผู้ใช้อินเตอร์เน็ตของไทยที่มีการใช้อินเตอร์เน็ตซื้อผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวและบริการผ่านตัวแทนการท่องเที่ยวออนไลน์จำนวน 400 คนในห้าเขตของกรุงเทพมหานครโดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบตามความสะดวกรวมทั้งวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละความถี่ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานสมมติฐานที่ได้รับการทดสอบโดยตัวอย่างการทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยที่กลุ่มตัวอย่างสัมพันธ์กัน, การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและสถิติความสัมพันธ์

ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ (1) ปัจจัยที่มีอิทธิพลในการซื้อของผู้บริโภคและพฤติกรรมของผู้บริโภคมีผลกระทบอย่างมีนัยยะสำคัญต่อกระบวนการตัดสินใจในการซื้อของผู้บริโภคต่อการซื้อผลิตภัณฑ์ การท่องเที่ยวและบริการผ่านตัวแทนการท่องเที่ยวออนไลน์: (2) พฤติกรรมของผู้บริโภคทั้งสามรุ่นคือเบบี้บูมเมอร์, เจนเนอเรชั่นเอ็กซ์และเจนเนอเรชั่นวายต่อการซื้อผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวและบริการผ่านตัวแทนการท่องเที่ยวออนไลน์มีความแตกต่างกัน

 

Keywords


พฤติกรรมผู้บริโภค

Full Text:

Untitled

References


Bertea, P. (2011). Perceived risk, price and online travel agencies:does price always matter?. Retrieved from http://www.mnmk.ro/documents/2011/3_Bertea_Moisescu%20FFF.pdf

Card, J. A., C.-Y. Chen and S.T. Cole, (2003). Online Travel Products Shopping: Differences between Shoppers and Non-shoppers, Journal of Travel Research, 42, (133-139).

Chisnall, M.P. (1994), Consumer Behavior, (3rdedn), Maidenhead, McGraw Hill Companies.

Hasslinger, A., Hodzic, S., and Opaza, C.,(2007). Consumer behavior in online shopping. Retrieved from: http://hkr.diva-portal.org/smash/get/diva2:231179/FULLTEXT01.pdf

Kotler, P. and Armstrong, G. (2007). Principles of Marketing, Upper Saddle River.

Li, Xiangping, Li, Xiang (Robert), and Hudson, Simon. (2013). The application of generational theory to tourism consumer behavior: An American perspective. Journal of Tourism management vol. 37, (147-164). Retrieved from:

National Statistical Office, (2015).Statistical Yearbook 2014. Retrieved from http://web.nso.go.th/en/pub/e_book/esyb57/index.html

Parment, A. (2013). Generation Y vs. Baby Boomers: shopping behavior, buyer involvement and implications for retailing. Journal of retailing and consumer services vol. 20. (189-199). Retrieved from www.elsevier.com/locate/jretconser

Rogan, D. (2007). International consumer behavior. FH Joanneum Graz.

Shrestha, S. (2014).“An effect of social media towards foreign travel intention in visiting Bangkok”.MBA thesis, Stamford University.

Swarbrooke, J. and Horner, S. (1999). Consumer behavior in tourism. Butterworth Heinemann, Oxford. A division of Reed Educational and Professional Publishing., Ltd.

Talentedheads. (2013). Retrieved from http://www.talentedheads.com/2013/04/09/generation-confused/

Tourism. (2011). Online Travel Agent. Retrieve from http://www.tourism.vic.gov.au/images/stories/ATDW_EKIT/Tutorial_39A_Online-Travel-Agents-101-1.pdf


Refbacks

  • There are currently no refbacks.


ยินดีรับบทความวิชาการทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ที่ยังไม่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ในวารสารใดมาก่อน กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการแก้ไขต้นฉบับและการพิจารณาตีพิมพ์ตามลำดับก่อนหลัง