ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเช่าหอพักของแรงงาน ในนิคมอุตสาหกรรมนวนคร จังหวัดนครราชสีมา

สุวรรณ เดชน้อย

Abstract


       การวิจัยมีความมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกหอพักของแรงงานในนิคมอุตสาหกรรมนวนคร จังหวัดนครราชสีมา 2) เพื่อเปรียบเทียบปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกหอพักของแรงงานในนิคมอุตสาหกรรมนวนคร จังหวัดนครราชสีมา จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล การเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามกับแรงงานในจังหวัดนครราชสีมาที่ถูกเลือกให้เป็นกลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คนได้จากการสุ่มแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ความถี่ร้อยละค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติในการทดสอบสมมติฐานได้แก่ t-test (Independent Samples) และ One-Way ANOVA

ผลการวิจัยพบว่า

  1. ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกหอพักของแรงงานในนิคมอุตสาหกรรมนวนคร จังหวัดนครราชสีมา โดยภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกหอพักของแรงงานในจังหวัดนครราชสีมาอยู่ในระดับปานกลางทั้ง 7 ด้าน เรียงตามลำดับคะแนนเฉลี่ยมากไปหาน้อย ได้แก่ด้านลักษณะของห้องพัก ด้านราคา ด้านทำเลที่ตั้ง ด้านการบริการ ด้านภาพลักษณ์และสภาพแวดล้อม ด้านบุคลากรที่ให้บริการและด้านการส่งเสริมการตลาด ตามลำดับ
  2. ผลการเปรียบเทียบระดับการตัดสินใจเลือกหอพักของแรงงานในนิคมอุตสาหกรรมนวนคร จังหวัดนครราชสีมา ในจังหวัดนครราชสีมา ที่มีเพศ ตำแหน่ง  สถานภาพ และรายได้ต่อเดือนต่างกันมีระดับการตัดสินใจในการเลือกหอพักของแรงงานไม่แตกต่างกัน  เมื่อเปรียบเทียบรายด้านพบว่าปัจจัยการตลาดด้าน รูปแบบของห้องพักที่ทันสมัยสวยงาม ราคามีความเหมาะสมกับห้องพัก มีป้ายโฆษณา ประชาสัมพันธ์ ชื่อเสียงและภาพลักษณ์ของหอพัก ความน่าเชื่อถือ มีผลต่อระดับการตัดสินใจในการเลือกหอพักของแรงงานแตกต่างกัน

Keywords


การตัดสินใจ, หอพัก, ปัจจัยทางการตลาด

Full Text:

Untitled

References


กัญญา วิมาโคกกรวด. (2554). การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกเช่าที่พักอาศัยของพนักงานในโรงงานอุตสาหกรรม ตําบลโคกกรวด อําเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา. ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต วิทยาการจดการเป็นผู้ประกอบการ, บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยนครราชสีมา.

กุลชลี ไชยนันตา. (2539). กระบวนการตัดสินใจ (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: ประยูรวงศ์.

เกศรินทร์ อารีรอบ. (2552). ความต้องการปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกเช่าที่พักอาศัยรายเดือนของพนักงานในนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี. งานนิพนธ์การจัดการมหาบัณฑิต การจัดการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา.

โกวิทย์ กังสนันท์. (2549). กระบวนการตัดสินใจในด้านการบริหารและกรอบความคิดทั่วไป. กรุงเทพฯ: บรรณสารการพัฒนา.

เขตส่งเสริมอุตสาหกรรมนครราชสีมา. (2557). เขตอุตสาหกรรมนวนคร นครราชสีมา บีโอไอ เขต. สืบค้นเมื่อ เมษายน 30, 2558, จาก http://www.navanakorn.co.th/ewt_news.php?nid=257.

ชนงกรณ์ กุณฑลบุตร. (2547). หลักการจัดการ: องค์การและการจัดการแนวคิดการบริหารธุรกิจในสถานการณ์ปัจจุบัน (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชนายุส เชี่ยวเชิงการุณ. (2556). ปัจจัยการตัดสินใจเลือกหอพักในเขตนิคมอุตสาหกรรมลาดกระบังจังหวัดกรุงเทพมหานคร กรณีศึกษา: หอพักซอยคุ้มเกล้า 32. ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรังสิต.

ชวลิต ศุภกลาป. (2554). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกหอพักของแรงงานในนิคมอุตสหกรรม ลำพูน. แบบฝึกหัดการวิจัยปัญหาเศรษฐกิจปัจจุบันคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ชาญโชติ ชมพูนุท. (2556). ความหมายของแรงงาน. [ออนไลน์] สืบค้นเมื่อ เมษายน 30, 2558, จากhttps://www.gotoknow.org/posts/504753.

ชุติมา หวังเบ็ญหมัด. (2556). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อ คอนโดมิเนียม ในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. มหาวิทยาลัยหาดใหญ่, สงขลา.

ตารางแสดงรายชื่อผู้ประกอบการ. (2558). เขตส่งเสริมอุตสาหกรรมนวนคร นครราชสีมา. (เอกสารอัดสำเนา).

ธงชัย สันติวงษ์. (2540). พฤติกรรมผู้บริโภคทางการตลาด. กรุงเทพฯ: ประชุมช่าง จำกัด.

ธีรวุฒิ เอกะกุล. (2543). ระเบียบวิธีวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. อุบลราชธานี : สถาบันราชภัฏอุบลราชธานี.

นฤมล จิตรเอื้อ. (2547). ปัจจัยในการตัดสินใจและความพึงพอใจในการเช่าห้องพักรายเดือนของผู้เช่า ในตำบลเมืองรังสิต. สารนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

พรชัย ปิลันธนรัตน์. (2557). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการ อพาร์ทเม้นท์ของผู้บริโภคในเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร. ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยรังสิต.

พรธิดา จันทร์ที และคณะ. (2553). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกพักอาศัยในหอพักเอกชนของนิสิตระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยนเรศวร. งานวิจัยสถาบัน กองกิจการนิสิต มหาวิทยาลัยนเรศวร

พระราชบัญญัติ หอพัก พ.ศ. 2558. (2558, 22 เมษายน). ราชกิจจานุเบกษา. หน้า 1-2.

มนตรี แย้มกสิกร. (2542). รูปแบบของหอพักนักศึกษาสำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สำนักปลัดทบวงมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

มาสิฏฐา ศิริวรกล. (2554). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริโภคอาหารฟาสต์ฟู้ดของนักศึกษาระดับชั้นปริญญาตรี. งานวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนวิชา 751409 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ลัดดาวัลย์ ประกอบมูล. (2556). ปัจจัยที่ใช้ในการตัดสินใจเลือกเช่าหอพักของนักศึกษามหาวิทยาลัยในจังหวัดปทุมธานี. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี.

ศจี ปทุมวงศ์. (2546). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกหอพักในของนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่. รายงานการวิจัย คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2541). การบริหารเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ: พัฒนศึกษา.

ศิริวัฒณ์ เปียงเถิน. (2546). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกหอพักเอกชนของนักศึกษาคณะเศรษฐศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. รายงานการวิจัย คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ศิริวุฒิ บุญชะลอ. (2551). ปัจจัยในการตัดสินใจเช่าอพาร์ทเมนท์วิศัลย์วุฒิ ตำบลบ้านเก่า อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี. ปัญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต การบริหารทั่วไป, วิทยาลัยบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา.

ศุภร เสรีรัตน์. (2540). การจัดการการตลาด (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: เออาร์ บิซิเนส เพรส.

สถาบัน กศน. ภาคกลาง. (2557). เอกสารเสริมหลักสูตร “OTOP Mini MBA”. โครงการพัฒนาสื่อเสริมหลักสูตร OTOP Mini MBA ประจำปี งบประมาณ 2557.

สมคิด บางโม. (2548). องค์การและการจัดการ (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: วิทยพัฒน์.

สมใจ จอมพงษ์. (2551). ปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการตัดสินใจเลือกห้องเช่าในเขตนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี : กรณีศึกษา หอพักเพชรสุพรรณ. ปัญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต บริหารทั่วไป, วิทยาลัยบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา.

สิปปศิณี บาเรย์. (2553). ปัจจัยทางการตลาดที่มีผลต่อการเลือกใช้บริการสปาในประเทศไทยของนักท่องเที่ยวชาวจีน กรณีศึกษาจังหวัดภูเก็ต. ภาคนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต การตลาด, มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต.

สุโขทัยธรรมาธิราช, มหาวิทยาลัย. (2548). การจัดการเชิงกลยุทธ์ (พิมพ์ครั้งที่ 3). นนทบุรี.

สุภิดา ผดุงขวัญ. (2550). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเช่าหอพักของพนักงานในนิคมอุตสาหกรรม สหรัตนนคร อำเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. ภาคนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต บริหารธุรกิจ, บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

สุวสา ชัยสุรัตน์. (2537). หลักการตลาด. กรุงเทพฯ: ภูมิบัณฑิต.

องค์การบริหารส่วนตำบลนากลาง. (2558). จำนวนพนักงานโรงงานอุตสาหกรรม. (เอกสารอัดสำเนา).

อภิชญา โตประพันธ์. (2550). การศึกษาถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดเลือกและความพึงพอใจต่อหอพัก 40 ปีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. รายงานการวิจัย คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

อรุยา สุขวิบูลย์. (2549). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเช่าอพาร์ทเมนท์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร.วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต บริหารธุรกิจ, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

อิศรา ตันตราภรณ์. (2551). การตัดสินใจเลือกที่พักอาศัยประเภทอพาร์ทเมนท์ของประชาชนในตำบลหนองปรือ อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี. ปัญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต นโยบายสาธารณะ, วิทยาลัยบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา.

Boone, L. E., & Kurtz, D. L. (1989). Marketing. (6 th ed.). Marianna, FL: The Dryden.

Harrison, F.E. (1981). The managerial decision-making process. Boston: Houghton Mifflin.

Kotler, P. (1997). Marketing management analysis, planning, implementation and control. (9 th ed.). Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall.

Patterson, J. (1980). Teaching Personalized Decision Making. Santa Clars Country K-12 Career Education Consortium.

Yamane, Taro. (1967). Statistics: An introductory analysis. New York: Harper and Row.


Refbacks

  • There are currently no refbacks.


ยินดีรับบทความวิชาการทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ที่ยังไม่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ในวารสารใดมาก่อน กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการแก้ไขต้นฉบับและการพิจารณาตีพิมพ์ตามลำดับก่อนหลัง