ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการลงคะแนนเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ในการเลือกตั้งทั่วไป 2 กรกฎาคม 2554 ของเขตพญาไท กรุงเทพมหานคร

ทวีศักดิ์ แสงเงิน

Abstract


      การศึกษาครั้งที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยต่าง ๆ ที่มีอิทธิพลต่อการลงคะแนนเพื่อเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ในการเลือกตั้งทั่วไป โดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านพรรคการเมืองปัจจัยด้านตัวบุคคล เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพรายได้ คุณสมบัติหัวหน้าพรรคการเมืองนโยบายของพรรคการเมือง คุณสมบัติของผู้สมัคร ซึ่งผู้มีสิทธิ์จะไปเลือกตั้งหรือไม่ไปลงคะแนนเสียงเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ในการเลือกตั้งทั่วไปของเขตพญาไท กรุงเทพฯ ขึ้นอยู่กับปัจจัยข้างต้นมากน้อยเพียงใด โดยใช้ประชากรและการสุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ จำนวน 300 คน เครื่องมือในการใช้วิจัย คือ แบบสอบถาม ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยการศึกษาจากตำราเอกสารและงานวิจัยเป็นแนวทาง ในการสร้างแบบสอบถาม ซึ่งแบบสอบถาม แบ่งออกเป็นสองส่วน ส่วนที่ 1 แบ่งเป็น ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนที่ 2 แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่ทำให้กลุ่มตัวอย่างไปลงคะแนนเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เมื่อรวบรวมข้อมูลและแจกแจงความถี่แล้ว แบ่งระดับความคิดเห็น ออกเป็น 5 ระดับ ลำดับที่สำคัญมากที่สุด 4.21 - 5.001 สำคัญมาก 3.41 - 4.20 สำคัญปานกลาง 2.61 - 3.40 สำคัญน้อย 1.81 - 2.60   สำคัญน้อยมาก 1.00 - 1.80

 

Keywords


การลงคะแนนเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

Full Text:

Untitled

References


“ดอกไม้ปลายปืน: อนาคตการเมืองไทยภายใต้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่”. (2550, 24 สิงหาคม). ผู้จัดการรายสัปดาห์, หน้า 4-5.

“หลักการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งทางการเมือง”. รัฐสภาสาร. 48(12), 191-204.

กนก วงษ์ตระหง่าน. (2528). การเมืองในระบอบประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

______. (2528). การเมืองในสภาผู้แทนราษฎร. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กระมล ทองธรรมชาติ และคณะ. (2531). การเลือกตั้งพรรคการเมืองและเสถียรภาพของรัฐบาล (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: ฝ่ายวิจัย คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

คเณศ กลิ่นสุคนธ์. (2543). การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตเทศบาล: ศึกษาเฉพาะกรณี เทศบาลที่เปลี่ยนแปลงฐานะมาจากสุขาภิบาล พ.ศ. 2542 ในจังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ชมพู โกติรัมย์. “การเมือง เรื่องของประชาชน: จะเป็นจริงได้อย่างไร”. สืบค้นเมื่อ March 15, 2008, from http://www.bangkokbiznews.com/2007/12/03/news_25212614.php?news_.

ชัยวัฒน์ รัฐขจร. (2526). ความเข้าใจทางการเมืองและการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน: ศึกษาเฉพาะกรณีประชาชนอำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท จุฬาลงกรณ์มหาวิทยา.

ชูวงศ์ ฉายะบุตร. (2539). การปกครองท้องถิ่นไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ส่วนท้องถิ่น กรมการปกครอง.

ธีรพล เกษมสุวรรณ. (2528). ความรู้สึกเหินห่างทางการเมืองกับการมีส่วนร่วมทางการเมือง. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นิยม รัฐอมฤต. (2540). การเมืองไทย พัฒนาการ ปัญหา และแนวทางแก้ไข. กรุงเทพฯ: เอื้ออาทร.

ประชา วีรวัฒน์. (2548). พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งทั่วไปในปี พ.ศ. 2548 ของบุคลากรโรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต การเมืองและการปกครอง, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ประยุทธ วุฒิโสภากร. (2548). บทบาทที่ประชาชนคาดหวังต่อสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด: ศึกษาเฉพาะกรณี เขต 3 อำเภอพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี. สารนิพนธ์หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกริก.

ประสิทธิ์ พรรณพิสุทธิ์. (2513). การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในการปกครองแบบสุขาภิบาล: ศึกษาเฉพาะกรณีสุขาภิบาลพุทธไธสง จังหวัดบุรีรัมย์. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พรศักดิ์ ผ่องแผ้ว. (2534). การเลือกตั้งกับการพัฒนาทางการเมือง. ใน เอกสารการสอนชุดวิชาปัญหาการพัฒนาทางการเมืองไทย. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

______. (2536). กรอบการมองพฤติกรรมการเมือง. วารสารสังคมศาสตร์. 7(มกราคม-มีนาคม 2536), 13-14.

พีรพล ตัณฑโอภาส. (2539). ความพร้อมทางการเมืองของประชาชนในท้องถิ่นหรือรองรับการกระจายอำนาจ : ศึกษากรณี จังหวัดภูเก็ต. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต รัฐศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ไพฑูรย์ หลิมวัฒนา และคณะ. (2549). การรับรู้ข่าวสารและการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระดับท้องถิ่นของประชาชนในเตกรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สื่อสารการเมือง, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกริก.

รักฎา บันเทิงสุข. (2540). พฤติกรรมการเลือกตั้งของผู้มีอายุ 18-19 ปี ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร วันที่ 2 กรกฎาคม 2538 ศึกษากรณีอำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

เรืองโรจน์ เสนาราง. (2548). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้สิทธิเลือกตั้งผู้บริหารท้องถิ่น และสมาชิกสภาท้องถิ่น: ศึกษากรณีการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนตำบล และสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลดงเสือ เหลือง อำเภอโพธิ์ประทับช้าง จังหวัดพิจิตร เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2548. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วงษ์ เลิศไพศาล. (2541). วัฒนธรรมทางการเมือง: ศึกษาเฉพาะกรณีในส่วนที่เกี่ยวกับความคิดเห็นของนิสิตปีสุดท้าย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยที่มีต่อฐานะ และบทบาทของสมาชิกสภาผู้แทน. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิทยา สุวรรณมาศ. (2541). พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประชาชน ในเขตอำเภอมโนรมย์ จังหวัดชัยนาท. สารนิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต รัฐศาสตร์, คณะรัฐศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์.

ศักดิ์ เดชอุดม. (2534). แรงจูงใจในการสมัคร รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาจังหวัด ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต รัฐศาสตร์, คณะรัฐศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์.

______. “แรงจูงใจในการสมัคร รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาจังหวัด ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา.” สืบค้นเมื่อ December 17, 2008, จาก http://beethoven.cpe.ku.ac.th.

ศิวะพร ปัญจมาลา. (2538). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประชาชน : ศึกษากรณีการเลือกตั้งซ่อมสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนครพนมเขต 1 พ.ศ. 2537. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต การปกครอง, จุฬาลงกรณ์วิทยาลัย.

ศุภชัย เอี่ยมลออ. (2539). พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งในองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น : ศึกษาเฉพาะกรณีการเลือกตั้งสมาชิกสภาเมืองพัทยา เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2539. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสตรมหาบัณฑิต รัฐศาสตร์,จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ประจำจังหวัดประจวบคีรีขันธ์.. “รายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้งนายกองค์การ บริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2548”. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ประจำจังหวัดประจวบคีรีขันธ์. สืบค้นเมื่อ August 18, 2008, จาก http://prachuapkhirikhan.ect.go.th.

สุชา จันทน์เอม และสุรางค์ จันทน์เอม. (2540). จิตวิทยาสังคม. กรุงเทพฯ: แพร่วิทยา.

สุวัฒน์ ศรีพงษ์สุวรรณ. (2544). ความคิดเห็นของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา : ศึกษากรณีประชาชนในเขตบางนา ในการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2543. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต รัฐศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

อเนก เหล่าธรรมทัศน์. “พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง”. สืบค้นเมื่อ December 17, 2008, จาก http://beethoven.cpe.ku.ac.th.

อังคณา สุริยกุล ณ อยุธยา. (2548, 5 กุมภาพันธ์). “การลงคะแนนเสียงเลือกตั้งคือการมอบอำนาจอธิปไตย”. เดลินิวส์.

Almond, G.A. & B.G. Powell Jr. (1966). Comparative Politics: A Developmental Approach. Boston: Little Brown and Company.

Bardar, J.D. (1969). Citizen Politics: An Introduction of Political Behavior. Chicago: Markham Publishing.

McClosky, H. (1968). Political Participation. International Encyclopedia of the Social Sciences. 12 (December 1968), 252-253.

Nie .N.H. & S. Verba. (1975). Political Participation. in F.I. Greenstein and N.W. Polsby. The Handbook of Political Science. Reading. Massachusetts: Addison Wesley.

Wiener, M. (1971). Political Participation: Crisis of Political Process. in L. Binder (eds.). Crisis and Sequence in Political Development. Princeton: Princeton University Press.


Refbacks

  • There are currently no refbacks.


ยินดีรับบทความวิชาการทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ที่ยังไม่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ในวารสารใดมาก่อน กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการแก้ไขต้นฉบับและการพิจารณาตีพิมพ์ตามลำดับก่อนหลัง