การเปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้ออาหารฟาสต์ฟู้ด แฟรนไชส์ต่างประเทศในพื้นที่จังหวัดชลบุรี กรณีศึกษา แมคโดนัลด์และเคเอฟซี

จีรวรรณ บุญรอด

Abstract


การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา
1) เพื่อทำการเปรียบเทียบปัจจัยที่มีผล
ต่อการเลือกซื้ออาหารฟาสต์ฟู้ดแฟรนไชส์ต่างประเทศ
ในพื้นที่จังหวัดชลบุรี กรณีศึกษา แมคโดนัลด์
และเคเอฟซี
2) เพื่อทำการเปรียบเทียบลักษณะทางประชากรศาสตร์ของผู้บริโภคกับทัศนคติที่มีต่อ
ส่วนประสมทางการตลาด พฤติกรรมการบริโภค
อาหารฟาสต์ฟู้ดและการเลือกซื้ออาหารฟาสต์ฟู้ด
แมคโดนัลด์และเคเอฟซี
3) เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติ
ที่มีต่อส่วนประสมทางการตลาด และพฤติกรรมการบริโภคอาหารฟาสต์ฟู้ด กับการเลือกซื้ออาหารฟาสต์ฟู้ดแมคโดนัลด์ และเคเอฟซี
4) เพื่อหาปัจจัยทัศนคติที่มีต่อส่วนประสมทางการตลาด ที่ส่งผลต่อการเลือกซื้ออาหารฟาสต์ฟู้ด
แมคโดนัลด์และเคเอฟซีใช้ระเบียบวิธีวิจัย งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัย

เชิงสำรวจ (Survey Research) โดยใช้แบบสอบถามแบบปลายปิด (Close-ended Questionnaire)
ที่ประกอบด้วยข้อมูล คุณสมบัติส่วนบุคคล ทัศนคติส่วนประสมทางการตลาด และการเลือกซื้ออาหารฟาสต์ฟู้ดแฟรนไชส์ของผู้บริโภคแมคโดนัลด์และ
เคเอฟซีในพื้นที่จังหวัดชลบุรี เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประชากร คือ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้บริโภคที่เคยบริโภคและใช้บริการแมคโดนัลด์และเคเอฟซีในพื้นที่จังหวัดชลบุรี
โดยจะทำการสุ่มกลุ่มตัวอย่างจากแมคโดนัลด์และ
เคเอฟซีในพื้นที่จังหวัดชลบุรีตามสาขาต่างๆ ที่เปิดให้บริการเนื่องจากไม่ทราบจำนวนประชากรที่แน่นอน จึงกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง จากสัดส่วนประชากรโดยใช้สูตร (ศิริวรรณ เสรีรัตน์. 2541: 222-223) ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ระดับความคลาดเคลื่อน + 5% ซึ่งได้ขนาดของกลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน และจะทำการสุ่มกลุ่มตัวอย่างผู้ที่เคยบริโภคแมคโดนัลด์และเคเอฟซีในพื้นที่จังหวัดชลบุรี

โดยกำหนดระยะเวลาระหว่าง เดือนมิถุนายน - กรกฎาคม 2557
ผลการศึกษาพบว่า (ให้ตอบวัตถุประสงค์ในแต่ละข้อ)
1) เพื่อทำการเปรียบเทียบปัจจัยที่มีผล
ต่อการเลือกซื้ออาหารฟาสต์ฟู้ดแฟรนไชส์ต่างประเทศในพื้นที่จังหวัดชลบุรี กรณีศึกษา แมคโดนัลด์
และเคเอฟซี
2) เพื่อทำการเปรียบเทียบลักษณะทางประชากรศาสตร์ของผู้บริโภคกับทัศนคติที่มีต่อ
ส่วนประสมทางการตลาด พฤติกรรมการบริโภค
อาหารฟาสต์ฟู้ดและการเลือกซื้ออาหารฟาสต์ฟู้ด
แมคโดนัลด์และเคเอฟซี
3) เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติที่มีต่อส่วนประสมทางการตลาด และพฤติกรรมการบริโภคอาหารฟาสต์ฟู้ด กับการเลือกซื้ออาหารฟาสต์ฟู้ดแมคโดนัลด์และเคเอฟซี
4) เพื่อหาปัจจัยทัศนคติที่มีต่อส่วนประสมทางการตลาด ที่ส่งผลต่อการเลือกซื้ออาหารฟาสต์ฟู้ด
แมคโดนัลด์และเคเอฟซี


Full Text:

PDF

References


กุณฑวลี เวชสาร. (2545). การวิจัยการตลาด (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธวัสนันท์ ไชยสงเคราะห์. (2533). ความสัมพันธ์ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์และส่วนประสมการตลาดฯ

ของร้านอาหารฟาสต์ฟู้ด KFC สาขาโลตัสบ้านโป่ง. สารนิพนธ์ปริญญาโท มหาวิทยาลัย

เอเชียอาคเนย์.

ธารินี พินเที่ยง. (2550). ปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคอำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ กรณีศึกษา อาหารทะเลแช่แข็งพร้อมปรุงของบริษัท พรานทะเล จำกัด.ภาคนิพนธ์ปริญญาโท มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.

บุญเสริม วงศ์เชาวน์วัฒน์. (2551). พฤติกรรมผู้บริโภคในการตัดสินใจเลือกร้านอาหารฟาสต์ฟู้ดที่ได้รับแฟรนไชส์จากต่างประเทศในศูนย์การค้าในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

พันธะจิต ดังก้อง. (2546). ปัจจัยที่มีผลต่อการรับประทานอาหารฟาสต์ฟู้ดของนักศึกษาสถาบันราชภัฏเชียงใหม่. การค้นคว้าแบบอิสระปริญญาโท มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

พิทูร สุวรรณชัย. (2550). กระบวนการตัดสินใจซื้ออาหารทะเลแปรรูปของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร.การค้นคว้าอิสระปริญญาโท มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ภัทร์ฐิตา โสภณโสภาพัฒน์. (2550). แนวโน้มความต้องการบริโภคอาหารฟาสต์ฟู้ดของประชาชนในเขตกรุงเทพฯ. มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.

มัทนียา พรหมลักษณ์. (2549). ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคฟาสต์ฟู้ดของวัยรุ่นในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.

มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค. (2547). เปิดตำนานฟาสต์ฟู้ด. (ออนไลน์). สืบค้นเมื่อ กุมภาพันธ์ 2554, จาก http://www.racing-club.net/board/index.php?topic=1177.0.3.

เมทินี เชียงแรง. (2551). การศึกษาเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริโภคในการใช้บริการร้านค้าปลีก

แบบดั้งเดิมกับร้านค้าปลีกสมัยใหม่ในเขตจังหวัดเชียงราย. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.

เนตรชนก ทองชุ่ม. (2556). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้บริโภคที่ซื้อเสื้อผ้าแฟชั่นมือสองแนว

ย้อนยุค (Vintage) ผ่านทางสังคมออนไลน์เฟซบุ๊ค (Facebook) ในเขตกรุงเทพมหานคร.

การค้นคว้าอิสระปริญญาโท มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด.

ลลดา จันทร์สมบูรณ์. (2551). พฤติกรรมในการบริโภคอาหารฟาสต์ฟู้ดของวัยรุ่นในจังหวัดเพชรบุรี.

การศึกษาค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคนอื่น ๆ. (2541). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: พัฒนาศึกษา.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์, ปริญ ลักษิตานนท์, ศุภร เสรีรัตน์ และองอาจ ปทะวานิช. (2546). การบริหารการตลาดยุคใหม่. กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์, ปริญ ลักษิตานนท์ และองอาจ ปทะวานิช. (2546). การบริหารการตลาดยุคใหม่.กรุงเทพฯ: เพชรจรัสแสงแห่งโลกธุรกิจ.

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2557). “กสิกรไทยคาดมูลค่าตลาดธุรกิจฟาสต์ฟู้ดในไทยปีนี้ 30,600 - 31,200 ลบ.โต 5.7-7.8%”. (ออนไลน์). สืบค้นเมื่อ เมษายน 2557, จาก http://www.thannews.th.com/index.php?option=com_content&view=article&id=220507:--30600-31200--57-78&catid=176:2009-06-25-09-26- 02&Itemid=524..

สำนักงานพาณิชย์จังหวัดล􀂷ำปาง. (2552). “สถิติข้อมูลผู้ประกอบการในจังหวัดลำปาง”. (ออนไลน์).

สืบค้นเมื่อ กุมภาพันธ์ 2, 2554, http://www.pcocmartsch.moc.go.th/DocLib/Forms/AllItems.aspx.

สำนักงานสถิติจังหวัดลำปาง. (2546). สมุดรายงานสถิติจังหวัดลำปาง พ.ศ. 2546. กรุงเทพฯ: สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.

อดุลย์ จาตุรงคกุล. (2543). พฤติกรรมผู้บริโภค (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อุดม นิยมค้า. (2550). การศึกษาปัจจัยที่มีความเกี่ยวข้องต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารฟาสต์ฟู้ด

ของนักศึกษาในเขตเทศบาลนครนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. งานวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ

Philip Kotler. (1997). Maketing Management. (9 th ed.). Upper Saddle River,

New Jeresy, NJ: Pearson Prentice Hall.

Schiffman, Leon G. & Lazar Kanuk. (1994). Consumer Behavior.5th ed. Englewood Cliffs,

New Jersey: Prentice-Hall.

Yamane & Taro. (1967). Statistics : An Introductore Analysis. .2^nd. New York: Happer & Row.

คณึงภรณ์ วงเวียน. (2555). การพัฒนายุทธศาสตร์การท่องเที่ยวเชิงนิเวศอย่างยั่งยืน : กรณีศึกษา เกาะเสม็ด จังหวัดระยอง. วิทยานิพนธ์ สาขาวิชาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.

โศรยา สิ่งชูวงศ์. (2546). วิวัฒนาการแหล่งท่องเที่ยว : กรณีศึกษาเกาะช้างจังหวัดตราด. วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสิ่งแวดล้อม. มหาวิทยาลัยมหิดล.

สาคริน บุญพิทักษ์. (2546). กิจกรรมการจัดการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์แบบยั่งยืนกับการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองของบ้านแม่กำปอง ตำบลห้วยแก้ว กิ่งอำเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.


Refbacks

  • There are currently no refbacks.


ยินดีรับบทความวิชาการทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ที่ยังไม่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ในวารสารใดมาก่อน กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการแก้ไขต้นฉบับและการพิจารณาตีพิมพ์ตามลำดับก่อนหลัง