การเปรียบเทียบการนำหลักธรรมาภิบาลสู่การปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบล อำเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคาย
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการนำหลักธรรมาภิบาลสู่การปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลและเพื่อเปรียบเทียบการนำหลัก
ธรรมาภิบาลสู่การปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลอำเภอโพนพิสัยจังหวัดหนองคายจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 169 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือแบบสอบถามแบบประมาณค่าสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ร้อยละค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยมีสถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ T- test, F-test (One-Way ANOVA) กำหนดนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05
ผลการวิจัยพบว่า
1. การนำหลักธรรมาภิบาลสู่การปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลอำเภอโพนพิสัยจังหวัดหนองคายโดยรวมอยู่ในระดับมากเมื่อจำแนก
เป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมาก 5 หลักคือ หลักความโปร่งใสหลักประสิทธิภาพและประสิทธิผล หลักภาระรับผิดชอบหลักนิติธรรมและหลักวิสัยทัศน์เชิงยุทธศาสตร์อยู่ในระดับปานกลาง 4 หลักคือหลักการมุ่งเน้นฉันทามติหลักการมีส่วนร่วมหลักความเสมอภาคและหลักการตอบสนอง
2. การเปรียบเทียบการนำหลักธรรมาภิบาลสู่การปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลอำเภอโพนพิสัยจังหวัดหนองคายที่มีที่อยู่อบต. อายุ
การศึกษาและรายได้แตกต่างกันโดยรวมมีการนำหลักธรรมภิบาลสู่การปฏิบัติไม่แตกต่างกัน
3. ข้อเสนอแนะต่อการนำหลักธรรมาภิบาลสู่การปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลอำเภอโพนพิสัยจังหวัดหนองคายดังนี้ควรให้มีเสรีภาพ
ในการรวมกล่มุ และการแสดงความคิดเห็นเจ้าหน้าที่ควรปฏิบัติหน้าที่ด้วยความเต็มใจไม่เลือกปฏิบัติเจ้าหน้าที่ควรใช้อำนาจบนพื้นฐานขอกฎหมายอย่างเป็นธรรมเจ้าหน้าที่ควรให้ความสำคัญกับประชาชนผู้มารับบริการผู้บริหารควรสร้างแรงจูงใจด้วยการให้โบนัสประจำปีผู้บริหารควรมีมุมมองที่เปิดกว้างเล็งการณ์ไกลและผู้บริหารควรมุ่งเน้นงานยุทธศาสตร์
Keywords
Full Text:
PDFReferences
โกวิทย์ พวงงาม. การปกครองท้องถิ่น: ว่าด้วยทฤษฎีแนวคิดและหลักการ. กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอร์เน็ท,2550.
เกษียร เตชะพีระ. “ธรรมรัฐ/ธรรมาภิบาลกลายพันธุ์”. มติชนสุดสัปดาห์, (23 ธันวาคม 2548): หน้า 6.
เกรียงไกร เจริญวงศ์ศักดิ์. “ธรรมรัฐภาคการเมือง: บทบาทภาคีเมือง”. รัฐสภาสาร, (9 กันยายน2541):หน้า 44-46.
เกษม วัฒนชัย. ธรรมาภบิ าลกับบทบาทของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: สำนักนโยบายและแผนการศึกษา. 2546
จรูญ สุภาพ. สารานุกรมรัฐศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช, 2531.
ชูศักดิ์ เที่ยงตรง. การปกครองท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2518.
ไชยวัฒน์ ค้ำชูและคณะ. ธรรมาภิบาลการบริหารการปกครองที่โปร่งใสด้วยจริยธรรม. กรุงเทพฯ:น้ำฝน, 2545.
ดำรง ราชานุภาพ, สถาบันกองวิชาการและแผนงานและสำนักปลัดกระทรวงมหาดไทย. รายงานการวิจัยเรื่องปัญหาการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตำบล. กรุงเทพฯ: กรมการปกครอง, 2539.
นครินทร์ เมฆไตรรัตน์. สารานุกรมการปกครองท้องถิ่นไทย. หมวดแนวคิดพื้นฐาน : รัฐกับการปกครองท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า, 2547.
นันทวัฒน์ บรมานันท์. การปกครองส่วนท้องถิ่น. พิมพ์ครั้งที่ 3.กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2547.
บุญชม ศรีสะอาด. การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น, 2545.
บูฆอรี ยีหมะ. การปกครองท้องถิ่นไทย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550.
ปธาน สุวรรณมงคล. การปกครองท้องถิ่นไทยในบริบทของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2547.
ประทาน คงฤทธิศึกษากร. การปกครองท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: พีระพัธนา, 2526.
ปรัชญา เวสารัชช์. ปฏิรูปราชการเพื่ออนาคต. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์, 2538.
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. การสร้างธรรมาภิบาลในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2542.
ประมวล รุจนเสรี. การบริหาร-การจัดการที่ดี (Good Governance). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อาสารักษ์ดินแดน, 2542.
ประหยัด หงษ์ทองคำ. การปกครองท้องถิ่นไทย. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิจ, 2523.
นฤมล ทับจุมพล. “แนวคิดและวาทกรรมว่าด้วยธรรมรัฐแห่งชาติ” ธรรมาภิบาลกับคอรัปชั่นในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง, 2546.
นพพล สุรนัคครินทร์. “การนำหลักธรรมาภิบาลมาปรับใช้ในองค์การบริหารส่วนตำบลตามทัศนะของประชาชนจังหวัดเชียงใหม่”. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตร มหาบัณฑิตบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2547.
ยุคศรี อาริยะ. “โลกาภิวัฒน์กับ Good Governance” ธรรมาภิบาลกับคอรัปชั่นในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนพับลิชชิ่ง, 2546.
ยอดสุข พัฒน์ธี. “ปรัชญาการเมืองเรื่องธรรมรัฐในทัศนะของธีรยุทธบุญมี” ธรรมาภิบาลกับคอรัปชั่นในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่งจำกัด, 2546.
สุดจิต นิมิตรกุล, “กระทรวงมหาดไทยกับการบริหารจัดการที่ดี” ในการปกครองที่ดี (Good Governance). กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ์, 2543.
“พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีพ.ศ. 2546,” ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 120 ตอนที่ 100 ก. หน้า 1 – 16. 9 ตุลาคม 2546.
รสสุคนธ์ รัตนเสริมพงศ์. “แนวคิดและหลักการบริหารท้องถิ่น,” ในเอกสารการสอนชุด วิชาการบริหารท้องถิ่นหน่วยที่ 1-8. หน้า 1-61. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546.
“รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550,” ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 124 ตอนที่ 47 ก. 62 ก.หน้า 1-127. 24 สิงหาคม 2550.
วุฒิสาร ตันไชย. การกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่น: ความก้าวหน้าหลังรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540.กรุงเทพฯ: คลังวิชา, 2547.
สมคิด เลิศไพฑูรย์. กฎหมายสำหรับการปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: ธรรมกมลการพิมพ์, 2550.
อรพินท์ สพโชคชัยและคณะ. แนวทางการนำหลักธรรมาภิบาลมาประยุกต์ใช้สำหรับการบริหารงานส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, 2543.
. “สังคมเสถียรภาพและกลไกประชารัฐที่ดี”. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา
สัมมา รธนิธย์. หลักทฤษฎีและปฏิบัติการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: บริษัทสำนักพิมพ์ข้าวฟ่างจำกัด.2553.
หวน พินธุพันธ์. การบริหารการศึกษา : นักบริหารมืออาชีพ. (พิมพ์ครั้งที่ 2).กรุงเทพฯ: พินธุพันธ์การพิมพ์.2549.
Asian Development Bank. “Governance Sound Development Management”. [Online]. http://ADB.org (23 June 2006).
Corkery, J. (ed) Governance : evolution of the meaning of the Word in Governance:Concepts and Applications. International Institute of Administrative Sciences,
Working group 1999, Brussels, Belgium, 1999. Gerry Stoker. International Social Science Journal “Governance as Theory: five propositions”,1998.
Kokpol, Orathai. “Urban Governance and the Environment: Solid – waste
Management in Two Municipalities in Thailand”. Doctoral dissertation.University of Toronto. Canada,1998.
Refbacks
- There are currently no refbacks.
ยินดีรับบทความวิชาการทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ที่ยังไม่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ในวารสารใดมาก่อน กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการแก้ไขต้นฉบับและการพิจารณาตีพิมพ์ตามลำดับก่อนหลัง