เทคโนโลยีแห่งตัวตนสู่ความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจของผู้ประกอบการศูนย์บริการอีซูซุจังหวัดนครปฐม

สุธา พงศ์ถาวรภิญโญ

Abstract


การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงการใช้เทคโนโลยีแห่งตัวตนของผู้ประกอบการศูนย์บริการรถยนต์อีซูซุจังหวัดนครปฐมสู่ความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจ ผู้ให้ข้อมูลหลักคือ คุณพัลลภ เวศย์วรุตม์ ผู้ประกอบการศูนยบ์ ริการรถยนต์อีซูซุจังหวัดนครปฐม ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีวิทยาการศึกษาประวัติชีวิตและเรื่องเล่า โดยการสัมภาษณ์และสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม ผลการวิจัยพบว่า อัตลักษณ์หรือตัวตนของคุณพัลลภ เวศย์วรุตม์ ที่ทำให้ประสบความสำเร็จในการทำธุรกิจ มีดังนี้ 1. ประสบการณ์ที่ถูกบ่มเพาะจากการทำธุรกิจในครอบครัวโดยการลงมือปฏิบัติ ส่งผลให้มีทักษะ และ มีความเชี่ยวชาญในการทำธุรกิจ 2. การคิดต่างจากค่านิยมที่เคยมีมาในครอบครัว หรือการสร้างนวัตกรรมทางความคิดส่งผลให้ธุรกิจอยู่รอดในภาวะเศรษฐกิจถดถอยผู้ประกอบการหรือคนที่คิดต่าง ต้องมีมุมมองหรือได้ศึกษาหาข้อมูลใน สิ่งนั้นๆ อย่างแตกฉานเพื่อให้เกิดนวัตกรรม3. การสร้างความเข้าใจให้แก่พนักงานและเห็นคุณค่าของพนักงาน โดยการชี้แจงนโยบายและแนวทางของบริษัทแก่พนักงาน และมองว่าพนักงานทุกคนมีความสำคัญต่อหน่วยงาน พนักงานทุกคนมีส่วนขับเคลื่อนองค์กรให้ประสบความสำเร็จ 4. ความรับผิดชอบต่อสังคม การทำธุรกิจในยุคปัจจุบันต้องคืนกำไรให้กับสังคม เพราะธุรกิจอยู่ได้ สังคมต้องอยู่ได้ ถ้าสังคมอยู่ไม่ได้ ธุรกิจก็ไม่สามารถอยู่ได้เช่นกัน


Keywords


ความสำเร็จ; เทคโนโลยีแห่งตัวตน; ผู้ประกอบการ

Full Text:

PDF

References


กัญญรัตน์ หงส์วรนันท์. (2555). การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม: กลยุทธ์และโอกาสของ องค์กรธุรกิจประเทศกำลังพัฒนาในสังคมพลวัต. วารสารนิเทศศาสตร์ธุรกิจบัณฑิตย์,6(2), 83-112.

ณัฐ อมรภิญโญ. (2556). รูปแบบการประสบความสำเร็จที่ยั่งยืนของผู้ประกอบการรายย่อยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนประเทศไทย. วารสารวิชาการศรีปทุมชลบุรี, 9(3), 57-66.

ดนัย จันทร์เจ้าฉาย. (2557). White Ocean Strategy กลยุทธ์น่านน้ำสีขาว. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ดีเอ็มจี.

ฝนทิพย์ ฆารไสว, ณัฐเชษฐ์ พูลเจริญ และ ไว จามรมาน. การศึกษาคุณลักษณะของผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จของธุรกิจโรงแรมในจังหวัดภาคเหนือตอนล่างของไทย. วารสารวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร, 7(1), 39.

สุนันทา มิ่งเจริญพร.(2556). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์กับผลการดำเนินงานขององค์การของธนาคารออมสิน สำนักงานใหญ่. วารสารวิทยบริการมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 24(2), 156-157.

สมยศ ติรนวัฒนานันท์ และสุดาพร สาวม่วง. (2557). รูปแบบกลยุทธ์การส่งออกผลิตภัณฑ์ของเด็กเล่นของ ผู้ส่งออกไทยที่ประสบความสำเร็จ. วารสารเกษตรศาสตร์สาขาสังคมศาสตร์, 35(2),299-311.

อุบลวรรณา ภวกานันท์ (2555), ปัจจัยทางจิตวิทยาของความสำเร็จในการประกอบการของผู้ประกอบวิสาหกิจขนาดกลางและย่อมธุรกิจการท่องเที่ยวและที่พัก : ความรู้ ระยะที่ 3: สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ กลยุทธ์ในการดำเนินการ ภูมิความรู้ความชำนาญ บุคลิกการเป็นผู้ประกอบการและแบบจำลองความสำเร็จในการประกอบการ. Journal of HR Intelligence สถาบันทรัพยากรมนุษย์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 7(2), 28-40.

Adit Grover. (2014). Importance of CSR in Inclusive Development. Social and Behavioral Sciences, 157, 103 – 108.

A. Popovic, P.S.Coelho, & J.Jaklic. (2009). The impact of business intelligence system maturity on information quality. Information Research, 14(4).

Frederick, S. (2005). Cognitive reflection and decision making. Journal of Economic Perspectives, 19(4), 25–42.

Frese, M. (2004). The psychological actions and entrepreneurial success: An action theory approach. In : J. R. Baum, M. Frese, and R. A. Baron (eds.): The Psychology of Entrepreneurship. Mahwah, New Jersey : Lawrence Erlbaum Associations.

Jean Huge, & Tom Waas , T. (2011). Corporate social responsibility for sustainable development – reflections on theory : practice and on the role of government. Steunpunt Beleidsrelevant Onderzoek.

Michael A. Hitt, R. Duane Ireland, Robert E. Hoskisson (2014). Strategic management:Competitiveness and Globalization : Concepts & Cases (11 Ed.). South Western Cengage Learning : Usa.

Michael E. Porter. (1985). Competitive Advantage : Creating and Sustaining Superior Performance. The Free Press : New York.

Paul Clarke, Rory V. O Connor. (2012). The influence of SPI on business success insoftware SMEs : An empirical study. The Journal of Systems and Software, 85(10),2356-2367.


Refbacks

  • There are currently no refbacks.


ยินดีรับบทความวิชาการทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ที่ยังไม่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ในวารสารใดมาก่อน กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการแก้ไขต้นฉบับและการพิจารณาตีพิมพ์ตามลำดับก่อนหลัง