การคาดการณ์ระดับความสำเร็จในการบริหารงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

ปาริฉัตร์ จันทร์นวล

Abstract


ผลการวิจัยพบว่า การดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร
ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ประกอบด้วย ด้านปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และด้านผลลัพธ์ โดยภาพรวมระดับความเห็น อยู่ในระดับเห็นด้วยมากซึ่งด้านผลลัพธ์ เป็นอันดับหนึ่ง รองลงมาได้แก่ ด้านปัจจัยนำเข้า และด้านกระบวนการระดับปฏิบัติที่คาดการณ์ของการดำเนินการตามเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร ประจำปีการศึกษา 2557 ทั้ง 6 องค์ประกอบ โดยภาพรวมอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก โดยองค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียน การสอน
การประเมินผู้เรียน เป็นอันดับหนึ่ง รองลงมาได้แก่ องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์ องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา และ
องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต อาจารย์ที่สังกัดคณะต่างกันมีความคิดเห็นต่อปัจจัยความสำเร็จในการบริหารงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาที่แตกต่างกันทั้งนี้อาจเป็นเพราะคณะแต่ละคณะมีการจัดการเรียน การสอนที่แตกต่างกัน มีจุดมุ่งหมายที่แตกต่างกันรวมทั้งมีลักษณะนักศึกษาที่แตกต่างกัน จึงส่งผลให้อาจารย์ที่สังกัดคณะต่างกันมีความคิดเห็นต่อปัจจัยความสำเร็จในการบริหารงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาแตกต่างกัน


Full Text:

PDF

References


คณะกรรมการดำเนินงานการวิจัย สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดตรัง. (2554). “การประกันคุณภาพการศึกษาภายในมหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดตรัง.” การศึกษาวิจัย สาขาวิทยาบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดตรัง มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

จินตนา สระทองขาว. (2554). “ปัจจัยองค์การที่ส่งผลต่อการดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาระดับคณะวิชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ชนินทร ศรีทอง. (2551). “บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาที่ปฏิบัติจริงและบทบาทที่คาดหวังในการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในตามการรับการรับรู้ของบุคลากรของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรี.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารหารศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.

ธวัชชัย ดีเจริญ. (2552). “ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาในจังหวัดพิษณุโลก.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิตสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ บัณฑิตวิทยา มหาวิทยัยมหิดล.

ธวัชชัย ศุภดิษฐ์. (2557). การพัฒนาแนวปฏิบัติเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิในการประกันคุณภาพการศึกษา สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2550). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS. กรุงเทพฯ: บริษัทวีอินเตอร์พริ้นท์.

ประนอม รอดวินิจ. (2553). การศึกษาการดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีสุรินทร์. สุรินทร์: วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุรินทร์

เปี่ยมสุข ทุ่งกาวี. (2557). “ปัจจัยที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมในการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของบุคลากร สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.” งานวิจัย สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

พิเชษฐ์ วายุวรรธนะ. (2550). “การประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดส􀂷ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรี เขต 1.” ปริญญานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. กองนโยบายและแผน. (2557). คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจำปีการศึกษา 2557. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

สุรวี ศุนาลัย. (2555). ปัจจัยแห่งความส􀂷ำเร็จของการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. (2552). กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 (Thai Qualifications Framework for Higher Education) (TQF : HEd). กรุงเทพฯ.

Cohen, J., Cohen, P., West, S. G. and Aiken, L. S. (2003). Applied multiple regression/correlation analysis for behavioral sciences. 3rd. New Jersey: Lawrence Erlbaum Association.

Elaine El-Khawas. (2013). “Quality assurance as a policy instrument: what’s ahead?.” Quality in Higher Education 19, 2: 248-257.

Lim,D. (1999). “Quality Assurance in Higher Education in Developing Countries.” Assessment Evaluation in Higher Education 24, 4: 379-390.

Jan Kleijnen and Diana Dolmans. (2014). “Effective quality management requires a systematic approach and a flexible organisational culture: a qualitative study among academic staff.” Quality in Higher Education 20, 1: 103-126.

Jason M. lodge and Agnes Bonsanquet. (2013). “Evaluating quality learning in higher education : re-examining the evidence.” Quality in Higher Education 20,1: 3-33.


Refbacks

  • There are currently no refbacks.


ยินดีรับบทความวิชาการทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ที่ยังไม่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ในวารสารใดมาก่อน กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการแก้ไขต้นฉบับและการพิจารณาตีพิมพ์ตามลำดับก่อนหลัง