ค่าเสียหายเชิงลงโทษกับความผิดฐานละเมิด ลิขสิทธิ์
Abstract
การศึกษาเรื่อง “ค่าเสียหายเชิงลงโทษ
กับความผิดฐานละเมิด ลิขสิทธิ์”นี้มีวัตถุประสงค์
ที่จะศึกษาถึงบทบัญญัติทางกฎหมายในเรื่องของการกำหนดค่าสินไหมทดแทน ในกรณีที่มีการละเมิดสิทธิ ที่ใช้อยู่ในปัจจุบันว่ามีความเหมาะสมกับการที่จะนำมาใช้ในการกำหนดค่าสินไหมทดแทนความเสียหายในกรณีละเมิดสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาดังกล่าวหรือไม่อย่างไร และควรมีการปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติมประการใดบ้าง เพื่อให้สามารถนำบทบัญญัติดังกล่าวมาใช้ในการเยียวยาความเสียหายที่เกิดขึ้นได้อย่างแท้จริงและมีประสิทธิภาพ
Keywords
Full Text:
PDFReferences
กฤษณา พิษณุโกศล. (2531). ค่าเสียหายเชิงลงโทษ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
คัมภีร์ แก้วเจริญ. (2526). ค่าเสียหายในคดีละเมิด. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์นิติธรรม.
จักรพงศ์ เล็กสกุลไทย. (2538). ค่าเสียหายอันเป็นโทษในคดีละเมิด. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์บรรณกิจ.
จักรพงศ์ เล็กสกุลไทย. (2538). ความรับผิดฐานละเมิดตามกฎหมายเยอรมันเปรียบเทียบกับกฎหมายคอมมอนลอร์. กรุงเทพมฯ: สำนักพิมพ์มติชน.
จิตติ ติงศภัทิย์. (2526). ป.พ.พ. บรรพ 2 มาตรา 354 – 452 ว่าด้วยมูลหนี้. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ไชยศ วรนันท์ศิริ. (2537). หลักกฎหมายความลับทางการค้าในกฎหมายคอมมอนลอร์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธัชชัย ศุภผลศิริ. (2544) กฎหมายลิขสิทธิ์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ นิติธรรม. บันเทิง สุธรรมพร. (2544). การนำพิสูจน์ค่าเสียหายในคดีละเมิดสิทธิในเครื่องหมายการค้า. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ประกอบ หุตาสิงห์. (2497). “ข้อคิดเกี่ยวกับค่า ทดแทนฐานละเมิด” ในวารสารดุลพาห (ฉบับที่ 5): หน้า 2-3.
ประจักษ์ พุทธิสมบัติ. (2538). ป.พ.พ. ลักษณะละเมิดและจัดการงานนอกสั่ง. กรุงเทพฯ:
ศรีสมบัติการพิมพ์.
ประสบสุข บุญเดช. (ธันวาคม 2545). “กฎหมายคุ้มครองความลับทางการค้าในประเทศไทย”
ใน วารสารบทบัณฑิต (ฉบับที่ 5 ตอนที่ 4): หน้า 1-55.
ปิยะนันท์ พันธุ์ชนะวานิช. (2531). ปัญหาเกี่ยวกับการกำหนดความเสียหายกรณีละเมิดลิขสิทธิ์.
วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พจน์ ปุษปาคม. ละเมิด (2530). กรุงเทพฯ: กรุงสยามการพิมพ์. พิสวาส สุคนธพันธ์. (ธันวาคม 2524). “ความเสียหายทางจิตใจตามกฎหมายระบบคอมมอนลอร์” ในวารสารนิติศาสตร์ (ฉบับที่ 2): หน้า 65-178.
ไพจิตร ปุญญพันธุ์. (ธันวาคม 2533). “ค่าเสียหายเป็นค่าทดแทนหรือไม่” ใน วารสารกฎหมายมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช” (ฉบับที่ 22): หน้า 45-49.
ไพจิตร ปุญญพันธุ์. (2538). คำอธิบาย ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะละเมิด:
พิมพ์ครั้ง ที่ 7. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์นิติบรรณการ.
ภัทรศักดิ์ วรรณแสง. (ธันวาคม 2533) “ความรับผิดเพื่อละเมิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์” ในวารสาร นิติศาสตร์ (ฉบับที่ 2): หน้า 78-91.
ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช. (2479). กฎหมายอังกฤษ ว่าด้วยลักษณะสัญญาและละเมิด. กรุงเทพฯ:
โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง.
ยล ธีรกุล. (พฤษภาคม 2497) “ข้อคิดเกี่ยวกับค่าทดแทนฐานละเมิด” ในวารสารนิติศาสตร์
(ฉบับ ที่ 8): หน้า 14-27.
ร.แลงกาต์. (2478). ประวัติศาสตร์กฎหมายไทย (กฎหมายเอกชน). คำสอนชั้นปริญญาโท
พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง. ราชบัณฑิตยสถาน. (2542). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์นิติบรรณาการ.
วารีย์ นาสกุล. (2515). ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ว่าด้วย ละเมิดจัดการงานนอกสั่งลาภมิควรได้. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
วัส ติงสมิตร. (พฤษภาคม-สิงหาคม 2543) “บทบาทของทรัพย์สินทางปัญญากับการประกอบอาชีพ”
ใน วารสารดุลพาหปีที่ 47. (ฉบับที่ 2): หน้า41-53.
วิมานเหล่าดุสิต. (28 กุมภาพันธ์ 2544) “ความหมายและประเภทของความลับทางการค้าที่กฎหมาย
ให้ความคุ้มครอง” ในวารสารกฎหมายสุโขทัยธรรมาธิราช (ฉบับที่ 2): หน้า 80-93. กรุงเทพฯ: กรุงเทพมหานคร.
ศักดิ์ สนองชาติ. (2544). คำอธิบายโดยย่อประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ว่าด้วยละเมิด.
พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์นิติบรรณาการ.
สุษม ศุภนิตย์. (2544). อธิบายกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ว่าด้วยลักษณะละเมิด. พิมพ์ครั้งที่ 3 กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์นิติบรรณาการ.
สุนีย์ มัลลิกะมาลย์. (2542). การบังคับใช้กฎหมายสิ่งแวดล้อม. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ: นิติธรรม.
เสนีย์ ปราโทย์. มรว. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยนิติกรรมและหนี้. ครั้งที่ 2.
อนันต์ จันทรโอภากร. (2548). โครงสร้างพื้นฐานกฎหมายลักษณะละเมิด. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์
นิติบรรณาการ.
อนันต์ จันทรโอภากร. (มิถุนายน 2530) “การชดใช้ค่าสินไหมทดแทน” ในวารสารนิติศาสตร์
(ฉบับที่ 2): หน้า 1-10.
อุทัย วงศวรพฤกษ์. ค่าสินไหมทดแทน: กรณีเสียความสามารถประกอบการ วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
Amanda Michael. (1996). A Practical Guide Mark Law. London: Sweet & Maxwell.
Cornish. WR. (1951). Intellectual Property Patents. Copyright. Trade Mark and Alled Right.
London: Sweet & Maxwell. David Bainbridge. (1996). Intellectual Property. London:
Pitman Publishjng.
Dorr. Robert C. (2002).Protecting Trade Secret Patents. Copyright. Trade Mark. Third Edition. New York: Aspen
Law & Business A Division of Aspen Puilishers. Ethan HorwiZ. (1991). Word Trade Mark Law and Practice. (volume 2) NewYork: Mathew Bender.
Jager. Melvin F. (1985). Trade Secret Law. United state Volume 1. Chicago: West &Group.
Jolowicz. Tewjs and Harris. (1985).Winfield and Jolowics On Tort. London:
Sweet & Maxwell. Patry William F. (1994) Copyright Law and Practice. Copyright – United State. Washingtion. D.C.: The Bureau of National Affairs.
กฎหมายไทย
พระราชบัญญัติความลับทางการค้า พ.ศ. 2545
พระราชบัญญัติความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ. 2547
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537
พระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 แก้ไขเพิ่มเติมตามพระราชบัญญัติสิทธิบัตร ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2542
พระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ. 2594 แก้ไขเพิ่มเติมโดย พระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2543
กฎหมายต่างประเทศ
กฎหมายความลับทางการค้าของประเทศ สหรัฐอเมริกา เรื่องการกำหนดค่าสินไหมทดแทนความ
เสียหาย “Uniform Trade Secret Act with 1985 Amendment Section 3 Damage”
กฎหมายลิขสิทธิ์ของประเทศสหรัฐอเมริกา เรื่องละเมิดลิขสิทธิ์ “Copyright Act 1976. Chapter
-Copyright Infringement And Remedies Section 504-505. แก้ไขเพิ่มเติม ค.ศ. 1992.
กฎหมายเครื่องหมายการค้าของประเทศสหรัฐอเมริกา ในเรื่องของการกำหนดค่าสินไหมทดแทนมาตรา 35(a) Trademark Act 1946 ( 15 U S C A Section 1117) หรือ Lanham Act Section 35 (a)
กฎหมายเครื่องหมายการค้าของประเทศอังกฤษ มาตรา 14(2) ประกอบกับมาตรา 2 หรือ Trade Mark Act 1994 Section 2 & 14(2)
กฎหมายลิขสิทธิ์ของประเทศญี่ปุ่น เรื่องการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนในคดีละเมิดลิขสิทธิ์ Copyright
Law of Japan November 1999 Chapter VII Infringement Article 112-118.
กฎหมายเครื่องหมายการค้าของประเทศญี่ปุ่น มาตรา 38 “Japan Trademark Law 1598 แก้ไข
เพิ่มเติม ปี 1999 Section 38” ความตกลงว่าด้วยสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศที่เกี่ยวกับการค้าข้อ 45 Agreement on Trade-Reacted Aspects of Intellectual Property Trade in counter felt Goods.
Refbacks
- There are currently no refbacks.
ยินดีรับบทความวิชาการทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ที่ยังไม่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ในวารสารใดมาก่อน กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการแก้ไขต้นฉบับและการพิจารณาตีพิมพ์ตามลำดับก่อนหลัง