การวิเคราะห์อนุภาคเขม่าปืนและปริมาณของแบเรียม ตะกั่ว และพลวง ภายหลังการยิงปืนบนเสื้อผ้าด้วยอาวุธปืนประเภท เอ็ม 16 เอ1 ด้วยเครื่อง Scanning Electron Microscope/Energy Dispersive X-ray Spectroscopy (SEM/EDS)

ณรงค์ กุลนิเทศ

Abstract


การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาวิเคราะห์อนุภาคของเขม่าปืนบนเสื้อผ้าหลังการยิงปืน ด้วยอาวุธปืนที่ใช้ เอ็ม16 เอ1 และกระสุนปืนขนาด 5.56 มม. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่
การทดสอบเสื้อ เสื้อโปโล เสื้อแจ็คเก็ต เสื้อเชิ้ต และเสื้อยืด ก่อนและหลังการซัก ทำการวิเคราะห์ตัวอย่างโดยใช้เครื่อง Scanning Electron Microscope/Energy Dispersive X-ray Spectroscopy (SEM/EDS) ในการวัดปริมาณ ร้อยละของแบเรียม ตะกั่ว และพลวง
ผลการวิจัยพบว่า การศึกษาปริมาณของเขม่าดินปืนบนเสื้อผ้าหลังการยิง และทำการทดสอบเสื้อผ้าก่อนและหลังการซัก 1) พบว่ามีการเกาะติดของอนุภาคเขม่าปืนในผ้าซาตินที่ใช้ในการทำเสื้อแจ๊ตเก็ตมากที่สุด และผ้าไนลอนที่ใช้ในการผลิตเสื้อเชิ้ตน้อยที่สุด 2) พบปริมาณของเขม่าดินปืนบนเสื้อแจ็คเก็ตภายหลังการซักมากที่สุด และพบปริมาณของเขม่าดินปืนบนเสื้อยืดภายหลังการซักน้อยที่สุด เมื่อเปรียบเทียบชนิดของเสื้อโปโลเสื้อแจ็คเก็ต เสื้อเชิ้ต และเสื้อยืด ที่ใช้ในการทดสอบเสื้อผ้าก่อนและหลังการซัก โดยการวัดปริมาณร้อยละการลดลงของแบเรียม ตะกั่ว และพลวง พบว่า มีปริมาณของแบเรี่ยม ตะกั่ว และพลวง บนเสื้อแจ็คเก็ตมีการลดลงมากที่สุด ร้อยละ 81.85 และมีปริมาณของแบเรี่ยม ตะกั่ว และพลวงบนเสื้อยืดน้อยที่สุด ร้อยละ 19.77 โดยผลการทดลอง ทั้งสองแบบนี้มีความสัมพันธ์กัน 3) การวิเคราะห์แบบ TWO-WAY ANOVA ผลการวิเคราะห์ข้อมูลปรากฏค่าสถิติ F เท่ากับ 102.872 และค่า Sig เท่ากับ 0.000 จึงเห็นได้ว่าการใช้เครื่อง Scanning Electron Microscope/Energy Dispersive X-ray Spectroscopy (SEM/EDS) จะเป็นอีกทางเลือกหนึ่งสำหรับใช้ในการตรวจ วิเคราะห์อนุภาคเขม่าปืนและตรวจสอบปริมาณของแบเรี่ยม ตะกั่ว และพลวง ได้


Keywords


เขม่าดินปืน; แบเรี่ยม; ตะกั่ว; พลวง; เสื้อผ้า; Scanning Electron Microscope; Energy Dispersive X-ray Spectroscopy

Full Text:

PDF

References


จิรวัชร ธนูรัตน์. (2551). คู่มือการตรวจดินปืน เขม่าดินปืน ตะกั่ว และทองแดง ของลูกกระสุนปืน. เอกสารเผยแพร่กองพิสูจน์หลักฐาน ส􀂷ำนักงานนิติวิทยาศาสตร์ต􀂷ำรวจจังหวัด

เจริญ ปานคล้าย. (2552). การตรวจเขม่าดินปืนบนเสื้อผ้าที่ระยะยิงต่างๆ ด้วยเทคนิค ICP MS. เอกสารเผยแพร่งานคุณภาพเพื่อใช้ประกอบการเลื่อนต􀂷ำแหน่งกลุ่มงานตรวจอาวุธและเครื่องกระสุนปืน กองพิสูจน์หลักฐาน ส􀂷ำนักงานนิติวิทยาศาสตร์ต􀂷ำรวจจังหวัด

นพสิทธิ์ อัครนพหงส์. (2550). หลักการตรวจพิสูจน์เขม่าที่เกิดจากการการยิงปืน. กองพิสูจน์หลักฐาน ส􀂷ำนักงานนิติวิทยาศาสตร์ต􀂷ำรวจจังหวัด

ณรงค์ กุลนิเทศ. (2551). การพิสูจน์หลักฐานและความเป็นธรรมทางสังคม. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ ห้างหุ้นส่วนจ􀂷ำกัดสามลดา.

ณัฐนันท์ ชาติรักวงศ์. (2551). การตรวจเขม่าปืนบนเสื้อผ้าด้วยเทคนิค SEM/EDS. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขานิติวิทยาศาสตร์บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.

ทีมข่าวอิศรา. (2557). เจาะสถิติ 10 ด้านในวาระ 10 ปี ไฟใต้. สืบค้นเมื่อ 5 มิถุนายน 2557,http://www.isranews.org/south-news/stat-history/item/26389-10subjects.html

ทีมข่าวอิศรา. (2556). ย้อนรอยคดีปล้นปืน ผ่ายุทธการปืนของรัฐคือปืนของเรา. สืบค้นเมื่อ

มีนาคม 2556, http://www.learners.in.th/blogs/posts/363887

พิมพันธ์ วงษ์แก้ว และชนิดดา อุทัยแพน. (2550). การวิเคราะห์หาปริมาณแอนติมอนี ตะกั่ว และแบเรียมในคราบเขม่าปืนโดยเทคนิคโวลแทนเมตรี. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ปกรณ์ พึ่งเนตร. (2556). งบดับไฟใต้จ่อ 2 แสนล้าน ปืนถูกปล้น 1,629 กระบอก รัฐยันหมู่บ้านสีแดงลด. สืบค้นเมื่อ 15 มีนาคม 2556, http://wbns.oas.psu.ac.th/shownews.php?news_id

=127266

แม้น อมรสิทธิ์ และคณะ. (2552). หลักการและเทคนิควิเคราะห์เชิงเครื่องมือ กรุงเทพฯ: บริษัทชวนการพิมพ์ 50 จ􀂷ำกัด.

รัชนารถ กิตติดุษฎี. (2535). การตรวจคราบเขม่าจากการยิงปืนที่มือ โดยวิธี SEM/EDX. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขานิติวิทยาศาสตร์บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.

วิฑูรย์ แซ่โง้ว. (2549). หลักการพื้นฐานของกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด (Scanning Electron Microscope, (SEM)). เอกสารประกอบการบรรยาย คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.

วิวัฒน์ ชินวร. (2535). การวิเคราะห์เขม่าปืนด้วยเทคนิค SEM/EDX. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต

สาขานิติวิทยาศาสตร์บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.

ศรีนวล แก้วแพรกสูต. (2540). ความรู้เรื่องผ้าและเส้นใย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามค􀂷ำแหง.

อรรถพล แช่มสุวรรณวงศ์ และคณะ. (2552). นิติวิทยาศาสตร์เพื่อการสืบสวนสอบสวน เล่ม 2

(พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: ทีซีจี พริ้นติ้ง.

อัจฉราพร ไศละสูต. (2529). ความรู้เรื่องผ้า. กรุงเทพฯ: ศูนย์หนังสือกรุงเทพฯ.

อัจฉราภรณ์ ประสงค์. (2552). ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณของเขม่าปืนบนเสื้อผ้าของผู้ยิงปืนและระยะเวลาภายหลังการยิงปืนที่วิเคราะห์โดยเทคนิค Inductively Coupled Plasma-Mass Spectrometry (ICP-MS). วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขานิติวิทยาศาสตร์บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล,

Andrasko J. and A.C. Maehly. (1976). Detection of gunshot residue on hands by

scanning electron microscopy. Journal of Forensic Sciences, no.: 279 – 287.

Andrasko J. and S. Pettersson. (1991). A simple method for collection of gunshot

residues from clothing. Journal of Forensic Science Society, no. 31: 321 – 330.

Arie Zeichner, and Nadav Levin. (1993). Collection efficiency of gunshot residue (GSR) particles from hair and hands using double-side adhesive tape. Journal of

Forensic Sciences, no. 38: 571 – 584.

Brozek-mucha Zuzanna. and Agnieszka Jankowicz. (2001). Evaluation of the possibility of differentiation between various types of ammunition by means of GSR

examination with SEM-EDX method. Journal of Forensic Sciences International, no. 123: 39 – 47.

Brozek-mucha Zuzanna. and Grzegorz Zadora. (2003). Grouping of ammunition types by means of frequencies of occurrence of GSR. Journal of Forensic Sciences

International, no. 135: 91 – 104.

FojtasekLubor,. And Tomas Kmjec. (2005). Time periods of GSR partials deposition after discharge final results. Journal of Forensic Sciences International, no.

: 132 – 135.

FojtasekLubor. (2003). Distribution of GSR particles in the surroundings of the

shooting pistal. Journal of Forensic Sciences International, no. 132: 99 – 105.

Wolten, G.M., and R.S. Nesbitt. (1980) .On the Mechanism of Gunshot Residue

Particle Formation. Journal of Forensic Science, no. 25: 533 - 545.


Refbacks

  • There are currently no refbacks.


ยินดีรับบทความวิชาการทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ที่ยังไม่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ในวารสารใดมาก่อน กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการแก้ไขต้นฉบับและการพิจารณาตีพิมพ์ตามลำดับก่อนหลัง