ผลของการใช้วิธีสอนอ่านแบบบูรณาการของเมอร์ดอกช์ (MIA) ที่มีต่อการพัฒนาความสามารถด้านการอ่านภาษาอังกฤษ เพื่อความเข้าใจของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

สรณบดินทร์ ประสารทรัพย์

Abstract


การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาผลของการใช้วิธีสอนอ่านแบบบูรณาการของเมอร์ดอกช์ (MIA) ในการพัฒนาความสามารถด้านการอ่านภาษาอังกฤษ 2) ศึกษาผลการประเมินความสามารถของตนเองด้านการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 และ 3) ศึกษาพฤติกรรมด้านการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเทพศิรินทร์ ในปีการศึกษา 2558 ที่เรียนรายวิชาภาษาอังกฤษอ่าน-เขียน 1 (อ 31201) จำนวน 1 ห้องเรียน จำนวน 50 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มห้องเรียน ดำเนินการทดลองโดยใช้แบบ One Group Pretest-Posttest Design เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่แผนการจัดการเรียนรู้การอ่านภาษาอังกฤษ จำนวน 8 แผน แบบทดสอบวัดความสามารถด้านการอ่านภาษาอังกฤษ แบบประเมินตนเองด้านการอ่านภาษาอังกฤษ และแบบสังเกตพฤติกรรมด้านการอ่านภาษาอังกฤษ สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย () ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ค่าร้อยละ และสถิติทดสอบ t  แบบไม่เป็นอิสระต่อกัน (t-test for dependent)

ผลการวิจัยครั้งนี้พบว่า 1) ความสามารถด้านการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนที่ได้รับการสอนอ่านด้วยวิธีสอนอ่านแบบบูรณาการของเมอร์ดอกช์ (MIA) สูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) นักเรียนที่ได้รับการสอนอ่านด้วยวิธีสอนอ่านแบบบูรณาการของเมอร์ดอกช์ (MIA) ประเมินความสามารถของตนเองด้านการอ่านภาษาอังกฤษอยู่ที่ระดับพอใช้ (= 3.24, S.D. = 0.97) 3) นักเรียนที่ได้รับการสอนอ่านด้วยวิธีสอนอ่านแบบบูรณาการของเมอร์ดอกช์ (MIA) มีพัฒนาการของพฤติกรรมด้านการอ่านภาษาอังกฤษ อยู่ที่ระดับพอใช้ (= 3.01, S.D. = 0.92)

 

Keywords


การอ่านภาษาอังกฤษ , วิธีสอนอ่านแบบบูรณาการของเมอร์ดอกช์ (MIA)

Full Text:

Untitled

References


กรมวิชาการ. (2541). การศึกษาสภาพปัญหาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษในโรงเรียนมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา.

จรัญ รัตนศิลา. (2539). การศึกษาเปรียบเทียบความเข้าใจในการอ่าน และความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษปีที่ 2 ที่ได้รับการสอนอ่านโดยวิธี MIA และวิธีการสอนตามคู่มือครู. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต การมัธยมศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ทรงพร อิศโรวุธกุล. (2528). แนวคิดใหม่สำหรับการสอนอ่าน. ภาษาปริทัศน์. 7(2), 10-14.

ประเทืองสุข ยังเสถียร. (2542). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนหลักสูตรภาอังกฤษ พุทธศักราช 2539 ในโรงเรียนรัฐบาล เขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต การสอนภาษาอังกฤษ, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

รจนา ชาญวิชิต. (2547). การพัฒนาความสามารถด้านการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยวิธีสอนแบบบูรณาการของเมอร์ดอกช์ (MIA). สารนิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต การสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สมเกียรติ กินจำปา. (2545). การศึกษาความเข้าใจในการอ่าน ความสามารถในการเขียนและความสนใจ ในการเรียนภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการสอนอ่านแบบบูรณาการ ของเมอร์ดอกช์ (MIA). ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต การประถมศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สมุทร เซ็นเชาวนิช. (2540). เทคนิคการอ่านภาษาอังกฤษ (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สรารัตน์ จันกลิ่น. (2544). การเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างกลุ่มที่ได้รับการสอนด้วยกลวิธีการตั้งคำถามตนเองและกลวิธีการจดบันทึก. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มัธยมศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุนารี เธียรธารณา. (2549). การพัฒนาความเข้าใจในการอ่านของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยวิธี MIA. สารนิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต การสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สุมณฑา วิรูหญาณ. (2531). ระดับความสามารถในด้านการอ่านภาษาอังกฤษระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มัธยมศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เสาวลักษณ์ ลักษณะโภคิน. (2539). การศึกษาวิธีสอนอ่านแบบ MIA และระดับความสามารถที่มีต่อความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต การประถมศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

อรุณี วิระยะจิตรา. (2532). การสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อารีย์ หลงสมบูรณ์. (2542). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนหลักสูตรภาษาอังกฤษพุทธศักราช 2539 ในโรงเรียนรัฐบาลเขตการศึกษา 1 กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต การสอนภาษาอังกฤษ, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

Allen, E.D., & Valette, R.M. (1979). Classroom Teaching: Foreign language and English as a Second Language. New York: Harcourt Brace Javanovich Inc.

Bartlett, L. (1995). Teacher Development through Reflective Teaching. In J. C. Richards and D. Nunan (Eds.). Second Language Teacher Education. Cambridge: Cambridge University Press.

Finocchiaro, M. & Brumfit, C.J. (1988). Teaching the General Student in Johnson K. and Morrow Communication in the Classroom. London: Longman.

Gebhard, Jerry G. (1985). Teaching Reading through Assumptions about Learning. English Teaching Forum. 23, 16-20.

Goodman, Y.M., & Burke, C. (1980). Reading Strategies: Focus on Comprehension. New York: Holt, Rinehart & Winston.

Harris, Larry A. & Smith, Carl B. (1980). Reading Instruction: Diagnostic Teaching in the Classroom (3 rd ed.). New York: Holt, Rinehart, and Winston

Harris. Albert. J. & Sipay. Edward R. (1979). How to Teach Reading. New York: Longman Inc.

Miller, Wilma H. (1973). The first R: Elementary Reading Today. New York: Holt – Richard and Winston, Inc.

Murdoch, George S. (1986). A More Integrated Approach to the Teaching of Reading. English Teaching Forum. 34(1), 9 – 15.

Nunan, D. (1989). Designing tasks for the communicative classroom. Cambridge: Cambridge University Press.

Rivers, Wilga M. (1972). Teaching Foreign Language Skills. Chicago: The University of Chicago.

Ruddell, Robert B. (2002). Teaching Children to Read and Write: Becoming an effective Literacy Teacher. Boston: Allyn & Bacon.

Ryder, Fandall J., & Graves, Michael F. (1994). Reading Centers Fluency Practice. Cambridge: Cambridge University.

Seaforss & Readence, John E. (1994). Helping Children Lean to Road (3 rd ed.). Needham Heights: Allyn & Bacon.

Slavin, R. E. (1990). Cooperative learning: Theory, research, and practice. Englewood Cliffs, Prentice-Hall.

Stauffer Russes G. (1975). Directing and Reading-Thinking Process. New york: Harrer and Row.

Widdowson, H.G. (1985). Explorations in Applied Linguistics (2 nd ed.). London: Oxford University Press.

Williams, Eddie. (1994). Reading in the Language Classroom (8 th ed.). London: McMillan Publisher.


Refbacks

  • There are currently no refbacks.


ยินดีรับบทความวิชาการทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ที่ยังไม่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ในวารสารใดมาก่อน กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการแก้ไขต้นฉบับและการพิจารณาตีพิมพ์ตามลำดับก่อนหลัง