การวิเคราะห์องค์ประกอบคุณลักษณะของครูในศตวรรษที่ 21 ของครูใหม่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัยเขต 1
Abstract
บทความวิจัยฉบับนี้วัตถุประสงค์ เพื่อการวิเคราะห์องค์ประกอบคุณลักษณะของครูในศตวรรษที่ 21 ของครูใหม่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัย เขต 1 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้
เป็นแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณลักษณะของครูในศตวรรษที่ 21 ของครูใหม่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัย เขต 1 โดยมีลักษณะของแบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประเมินค่า (Rating Scale) 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.98 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูใหม่ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัย เขต 1 จำนวน 140 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างด้วยตารางสำเร็จรูปของเครจซี่และมอร์แกน โดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามคุณลักษณะของครูในศตวรรษที่ 21 ของครูใหม่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัยเขต 1 วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจเกี่ยวกับคุณลักษณะของครูในศตวรรษที่ 21 ของครูใหม่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัย เขต 1 โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์ปัจจัย (Factor Analysis) ประเภทการวิเคราะห์ปัจจัยเชิงสำรวจ (Exploratory Factor Analysis: EFA) โดยใช้วิธีการสกัดปัจจัยแบบวิเคราะห์องค์ประกอบหลัก (Principal Components Factoring) และหมุนแกนองค์ประกอบมุมฉาก ด้วยวิธีแวร์ริแมกซ์ ได้ปัจจัยร่วม
5 องค์ประกอบ ได้แก่ องค์ประกอบที่ 1 ด้านทักษะความเป็นครู องค์ประกอบที่ 2 ด้านทักษะความรู้ องค์ประกอบที่ 3 ด้านทักษะการสอน องค์ประกอบที่ 4 ด้านทักษะความคิดและองค์ประกอบที่ 5 ด้านการใช้เทคโนโลยี
เป็นแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณลักษณะของครูในศตวรรษที่ 21 ของครูใหม่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัย เขต 1 โดยมีลักษณะของแบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประเมินค่า (Rating Scale) 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.98 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูใหม่ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัย เขต 1 จำนวน 140 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างด้วยตารางสำเร็จรูปของเครจซี่และมอร์แกน โดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามคุณลักษณะของครูในศตวรรษที่ 21 ของครูใหม่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัยเขต 1 วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจเกี่ยวกับคุณลักษณะของครูในศตวรรษที่ 21 ของครูใหม่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัย เขต 1 โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์ปัจจัย (Factor Analysis) ประเภทการวิเคราะห์ปัจจัยเชิงสำรวจ (Exploratory Factor Analysis: EFA) โดยใช้วิธีการสกัดปัจจัยแบบวิเคราะห์องค์ประกอบหลัก (Principal Components Factoring) และหมุนแกนองค์ประกอบมุมฉาก ด้วยวิธีแวร์ริแมกซ์ ได้ปัจจัยร่วม
5 องค์ประกอบ ได้แก่ องค์ประกอบที่ 1 ด้านทักษะความเป็นครู องค์ประกอบที่ 2 ด้านทักษะความรู้ องค์ประกอบที่ 3 ด้านทักษะการสอน องค์ประกอบที่ 4 ด้านทักษะความคิดและองค์ประกอบที่ 5 ด้านการใช้เทคโนโลยี
Full Text:
UntitledRefbacks
- There are currently no refbacks.