แนวทางการปรับปรุงการทางานเพื่อลดปัญหาทางการยศาสตร์ของเกษตรกร ชาวสวนยาง : กรณีศึกษาในพื้นที่อาเภอมะนัง จังหวัดสตูล

วีรชัย มัฎฐารักษ์

Abstract


การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการปรับปรุงการทางานเพื่อลดปัญหาทางการยศาสตร์ของเกษตรกรชาวสวนยาง ซึ่งเป็นกรณีศึกษาในพื้นที่หมู่ที่ 2 ตาบลนิคมพัฒนา อาเภอมะนัง จังหวัดสตูล จากการตรวจสอบและประเมินภาวะทางการยศาสตร์โดยใช้วิธีการ RULA และวิธีการ REBA ในขั้นตอนการนวดยางแผ่น ผลการวิเคราะห์ด้วยวิธีการ RULA พบว่ามีคะแนนเท่ากับ 7 ซึ่งหมายถึงว่ามีปัญหาทางการยศาสตร์ต้องได้รับการปรับปรุงการทางานโดยทันที ผลนี้สอดคล้องกับการวิเคราะห์ด้วยวิธีการ REBA ซึ่งพบว่ามีคะแนนเท่ากับ 11 ซึ่งหมายถึงการทางานที่มีความเสี่ยงสูง ซึ่งต้องการการตรวจสอบและปรับเปลี่ยนท่าทางการทางานในทันที จากผลการวิเคราะห์ดังกล่าวจึงได้นาเสนอแนวทางในการปรับปรุงวิธีการทางานเพื่อช่วยลดปัญหาทางการยศาสตร์ของเกษตรกรชาวสวนยาง 2 แนวทาง คือ การออกแบบปรับปรุงสถานที่ทางานและการออกแบบสร้างเครื่องนวดยางแผ่นเพื่อแก้ปัญหาเกี่ยวกับสุขภาวะอนามัยในการทางานต่อไป

Keywords


การปรับปรุงการทางาน; การนวดยางแผ่น; การยศาสตร์

Full Text:

PDF

References


กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสตูล. (2555). ข้อมูลทั่วไปจังหวัดสตูล 2555.

ยุพาภรณ์จันทรพิมล และคณะ. (2550) ภาวะสุขภาพและพฤติกรรมการป้องกันสุขภาพของผู้ประกอบอาชีพ

ยางพารา. วารสารวิชาการสาธารณสุข, ปีที่ 16 ฉบับที่ 3 พฤษภาคม–มิถุนายน 2555.

เรืองศักดิ์ แก้วธรรมชัย. (2554). การปรับปรุงการทางาน. เอกสารประกอบการบรรยาย.

สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาธรรมศาสตร์.

วิจิตร ตัณฑสุทธิ์ และคณะ. (2543). การศึกษาการทางาน. (พิมพ์ครั้งที่ 7) กรุงเทพมหานคร.

: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วีรชัย มัฎฐารักษ์ และคณะ. (2557). การประเมินภาวะทางการยศาสตร์ของเกษตรกรชาวสวนยาง

: กรณีศึกษาในพื้นที่อาเภอมะนัง จังหวัดสตูล, เอกสารการประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัย

ราชภัฎสุราษฎร์ธานี ครั้งที่ 10, 20-21 พฤศจิกายน 2557.

_____ และคณะ. (2557). ความสูญเสียจากการเคลื่อนไหวในการทางานของเกษตรกรชาวสวนยาง

: กรณีศึกษาในพื้นที่อาเภอมะนัง จังหวัดสตูล, เอกสารการประชุมวิชาการครุศาสตร์อุตสาหกรรม

ระดับชาติ ครั้งที่ 7, 6-7 พฤศจิกายน 2557.

_____ และคณะ. (2555). การประเมินภาวะทางการยศาสตร์ด้วยวิธี OWAS และ NIOSH,

เอกสารการประชุมวิชาการครุศาสตร์อุตสาหกรรมระดับชาติ ครั้งที่ 5, 5-6 กรกฎาคม 2555.

_____ และคณะ. (2555). การศึกษาทางการยศาสตร์เพื่อการปรับปรุงการทางาน

ในกระบวนการผลิตน้าตาลโตนด. วารสารวิชาการวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

ธัญบุรี , ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม–มิถุนายน พ.ศ. 2555.

วันชัย ริจิรวนิช. (2543). การเพิ่มผลผลิตในอุตสาหกรรม : เทคนิคและกรณีศึกษา.พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ

: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุดธิดา กรุงไกรวงศ์.(2554). หน่วยที่ 4 การบ่งชี้และวิเคราะห์งานด้านการยศาสตร์เพื่อปรับปรุงสภาพการ

ทางาน. ค้นเมื่อ 4/3/55 จาก http://www.safety-File/54110%20unit%2014.pdf.

สานักงานอาเภอมะนัง. (2554). ตานานวิถีชุมชนคนมะนัง. เอกสารเผยแพร่ (สาเนา)

สานักงานอาเภอมะนัง. (2554). ข้อมูลประกอบการจัดทาผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด. ค้นเมื่อ 5/5/55 จาก

http://manang.satun.doae.go.th/

องุ่น สังขพงศ์. (2550). การออกแบบทางการยศาสตร์. เอกสารประกอบการสอน (สาเนา).

ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

อรอนงค์ เอี่ยมขา และคณะ. (2547). สภาวะสุขภาพอนามัยของผู้ประกอบอาชีพทาสวนยางพารา.

ข้อมูลวิจัย กลุ่มโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม : สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 11.

องค์กรสวนยาง. (2554). ข้อมูลทั่วไปอาชีพสวนยางพารา. ค้นเมื่อ 2/3/54 จาก

http://www.organellelife.com/article_view. php?id=19

เอกชัย พฤกษ์อาไพ. (2547). คู่มือยางพารา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์เทพพิทักษ์. หน้า 8-10.

Hignett, Sue. andMcAtamney, Lynn.(2000). “Rapid Entire Body Assessment, REBA.

The Journal Applied Ergonomics,” 201-205.

Mc.Atamney, L. and Corlett, E.N., (1993).“ A Survey Method For The Investigation of Work-

Related Upper Limb disorders : RULA. The Journal Applied Ergonomics,” 91-99.


Refbacks

  • There are currently no refbacks.