การประยุกต์การสร้างการตัดสินใจและการประเมินหลายส่วนสำหรับการเลือกพื้นที่เหมาะสม เส้นทางศึกษาธรรมชาติ
Abstract
บทความวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการคัดเลือกเส้นทางที่เหมาะสมสำหรับ
การพัฒนาเส้นทางศึกษาธรรมชาติ บริเวณเนินทรายส่วนนอก จังหวัดชุมพร จากรวบรวมข้อมูลพื้นที่จากภาพถ่ายจากอากาศยานไร้คนขับ (Unmanned Aerial Vehicle: UAV) และการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) โดยการประยุกต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ร่วมกับการวิเคราะห์หลายปัจจัย (MCDA) ในการวิเคราะห์หาพื้นที่เหมาะสมสำหรับการพัฒนาเส้นทางศึกษาธรรมชาติ ปัจจัยที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ระดับความสูง ความลาดชัน ธรณีสัณฐาน การใช้ที่ดินและสิ่งปกคลุมดิน โครงข่ายถนน พืชพรรณ และสัตว์ป่า ผลการวิเคราะห์พื้นที่เหมาะสมสำหรับการพัฒนาเส้นทางศึกษาธรรมชาติพบว่าพื้นที่เหมาะสมสูง มีพื้นที่ 0.272 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 84.50 พื้นที่เหมาะสมปานกลาง มีพื้นที่ 0.009 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 2.83 และพื้นที่ไม่เหมาะสม มีพื้นที่ 0.041 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 12.67 ตามลำดับ
การพัฒนาเส้นทางศึกษาธรรมชาติ บริเวณเนินทรายส่วนนอก จังหวัดชุมพร จากรวบรวมข้อมูลพื้นที่จากภาพถ่ายจากอากาศยานไร้คนขับ (Unmanned Aerial Vehicle: UAV) และการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) โดยการประยุกต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ร่วมกับการวิเคราะห์หลายปัจจัย (MCDA) ในการวิเคราะห์หาพื้นที่เหมาะสมสำหรับการพัฒนาเส้นทางศึกษาธรรมชาติ ปัจจัยที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ระดับความสูง ความลาดชัน ธรณีสัณฐาน การใช้ที่ดินและสิ่งปกคลุมดิน โครงข่ายถนน พืชพรรณ และสัตว์ป่า ผลการวิเคราะห์พื้นที่เหมาะสมสำหรับการพัฒนาเส้นทางศึกษาธรรมชาติพบว่าพื้นที่เหมาะสมสูง มีพื้นที่ 0.272 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 84.50 พื้นที่เหมาะสมปานกลาง มีพื้นที่ 0.009 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 2.83 และพื้นที่ไม่เหมาะสม มีพื้นที่ 0.041 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 12.67 ตามลำดับ
Full Text:
UntitledRefbacks
- There are currently no refbacks.
**ไม่สามารถแก้ไขบทความ Proceeding online ทุกกรณี**