การศึกษาความสามารถการคิดเชิงอนาคต ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

จารุวรรณ ทองวิเศษ

Abstract


การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบของความสามารถการคิดเชิงอนาคต เพื่อเป็นแนวทางในการกำหนดนิยามและตัวบ่งชี้การคิดเชิงอนาคต โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ในภาคใต้ 6 เขตการศึกษา 336 โรงเรียน นักเรียน 46,354 คน โดยใช้การสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi –Stage Random Sampling) ได้โรงเรียน 6 แห่ง นักเรียน 1,500 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถามให้ผู้เรียนประเมินตนเองวัดการคิดเชิงอนาคตของนักเรียนตามวีของลิเคอร์ท (Likert’s scale) ที่มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ.... วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม LISREL รุ่น 9.10

Keywords


การคิดเชิงอนาคต

Full Text:

PDF

References


กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

เกริก ท่วมกลาง. (2543). เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการการฝึกทำโครงงาน. (อัดสำเนา).

เกรียงศักดิ์ ศรีสมบัติ. (2544). ผลของการพัฒนาลักษณะมุ่งอนาคตที่มีต่อแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ในโรงเรียนเขตชนบทยากจน จังหวัดอำนาจเจริญ. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Barnard, C. C. (1938). Power thinking: how the way you think can change the way you lead. San Francisco: Jossey Bass.


Refbacks

  • There are currently no refbacks.


ยินดีรับบทความวิชาการทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ที่ยังไม่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ในวารสารใดมาก่อน กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการแก้ไขต้นฉบับและการพิจารณาตีพิมพ์ตามลำดับก่อนหลัง