ความคิดเห็นต่อการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุองค์การบริหารส่วนตำบล อำเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคาย

วีระพัฒน์ ฝ้ายขาว

Abstract


การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นต่อการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุองค์การบริหารส่วนตำบล อำเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคาย 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับความเห็นต่อการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุองค์การบริหารส่วนตำบลอำเภอโพนพิสัยจังหวัดหนองคายกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือประชาชนที่ได้รับสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุขององค์การในการวิจัยในครั้งนี้เก็บข้อมูลเชิงปริมาณด้วยแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุที่ได้รับสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุองค์การบริหารส่วนตำบลอำเภอโพนพิสัยจังหวัดหนองคายในปีพ.ศ. 2558 จำนวน 370 คนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถามความคิดเห็นต่อการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุองค์การบริหารส่วนตำบล อำเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคายสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติการหาค่าร้อยละค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและการวิเคราะห์เปรียบเทียบเชิงซ้อน (Multiple Comparison) โดยใช้วิธีการทดสอบจะทำการตรวจสอบความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธีของเชฟเฟ่ (Scheffe) และการวิเคราะห์เนื้อหา


Keywords


การจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ

Full Text:

PDF

References


กชกร สังขชาติ. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับผู้สูงอายุ. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา, 2538.

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. คู่มือประชาชน. กรุงเทพฯ: 2554.

เกษม ตันติผลาชีวะ และกุลยาตันติผลาชีวะ. การรักษาสุขภาพในวัยสูงอายุ. กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์,2528

กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการส่วนมาตรฐานการจัดบริการสวัสดิการสังคมสำนักบริการสวัสดิการสังคม. การศึกษาโครงสร้างและรูปแบบศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ์จำกัด, 2548.

เกริกศักดิ์ บุญญานุพงศ์ และสุรีย์ บุญญานุพงศ์. ศักยภาพของผู้สูงอายุในการทำงานเพื่อสังคม. เชียงใหม่: โครงการชราภาพศึกษา. สถาบันวิจัยสังคมมหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2534.

ชาญยุทธ โฆศิรินันท์. การจัดสวัสดิการสังคมของกรมประชาสงเคราะห์เพื่อช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสที่ได้รับผลกระทบทางเศรษฐกิจ: ศึกษาเฉพาะกรณีโครงการฝึกอาชีพแรงงานในภูมิภาคเพื่อบรรเทาปัญหาการว่างงาน (สตรีและคนพิการ). (เอกสารขอประเมินเพื่อแต่งตั้งตำแหน่งเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 9 ชช. กรมประชาสงเคราะห์), 2542.

จารุรัตน์ โพธาราม. การผลิตรายการนิตยสารโดยใช้เทปบันทึกเสียงสำหรับผู้สูงอายุในสถานสงเคราะห์คนชราบ้านบางแค. ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาศึกษาศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2542

เจษฎา บุญทา. คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลแม่หอพระอำเภอแม่แตงจังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์

พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาบริหารการพยาบาลบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2545.

ชุติเดช เจียนดอน และคณะ. คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในชนบทอำเภอวังน้ำเขียวจังหวัดนครราชสีมา. วารสารสาธารณสุขศาสตร์ 2554; 41(3): 229.

ดวงจิตต์ นะนักวัฒน์. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการดูแลตนเองของผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาตำบลม่วงคำ อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย. ภาคนิพนธ์คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อมสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2550.

นภาพร ชโยวรรณและคณะ. ผลกระทบทางเศรษฐกิจสังคมและสภาวะผู้สูงอายุในประเทศไทย. วิทยาลัยประชากรศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539.

รายงานการสำรวจสภาวะผู้สูงอายุในประเทศไทย. (เอกสารสถาบันหมายเลข 246/39). กรุงเทพฯ: สถาบันประชากรศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539.

นิคม ชูเมือง. ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในเขตเทศบาล ตำบลโพนางดำ อำเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท. ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตสาขาการปกครองท้องถิ่นมหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2553.

นวลจันทร์ เงาประเสริฐ. ความพึงพอใจในการบริการของผู้สูงอายุในสถานสงเคราะห์คนชราบ้านบางแค. ภาคนิพนธ์คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อมสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2540.

บริบูรณ์ พรพิบูลย์. โลกยามชราและการเตรียมตัวเพื่อเป็นสุข. เชียงใหม่: พระสิงห์การพิมพ์, 2536.

ผาสุก มุทธเมธา. คติชาวบ้านกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต (ฉบับปรับปรุง).กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์, 2535.

พระราชบัญญัติผู้สูงอายุพุทธศักราช 2546. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า, 2546.

ไพฑูรย์ เยาวโสภา. คุณภาพชีวิตผู้ประกอบการจากโครงการถนนคนเดินท่าแพจังหวัดเชียงใหม่. การค้นคว้าอิสระสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2546.

ภรณี เกตกินทะ. คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในบ้านพักคนชราในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตสาขาเศรษฐศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2542.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า, 2540.

รสสุคนธ์ ธนะแก้ว. คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่เป็นโรคจิตเภทโรงพยาบาลสวนปรุง. พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,2548.

วัจนา เมธานัย. การจัดสวัสดิการสังคมของกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการศึกษาเฉพาะกรณี.ศูนย์บริการผู้สูงอายุบ้านบางแค 2. (ผลงานวิชาการเพื่อประเมินตำแหน่งนักสังคมสงเคราะห์ 7 ว ส่วนมาตรฐานการจัดสวัสดิการสังคม). กรุงเทพมหานคร: สำนักบริการสวัสดิการสังคมกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ, 2546.

วันทนีย์ วาสิกะสิน และคณะ. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2543.

วิภา เพ็งเสงี่ยมและคณะ. ความสามารถในการดูแลตนเองของผู้สูงอายุในจังหวัดนครราชสีมา. นครราชสีมา:วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีนครราชสีมา, 2543.

วิลาวัลย์ ต่อปัญญา และคณะ. ปัญหาและความต้องการด้านกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพและสังคมของผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุจังหวัดลำปาง. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ, 2547.

วิริยาภรณ์ สวัสดิ์รักษา. การจัดสวัสดิการผู้สูงอายุเพื่อการพึ่งพาตนเอง: ศึกษาเฉพาะกรณีชุมชนในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์พัฒนาแรงงานและสวัสดิการมหาบัณฑิตสาขาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2544.

ศศิธร ธรรมารักษ์. คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. ในการสัมมนาการวิจัย.กรุงเทพฯ: ส􀂷ำนักวิจัยสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2539.

ศศิพัฒน์ ยอดเพชร. สวัสดิการผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544.

ศิริวรรณ ศิริบุญ. การตอบสนองต่อปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุ: ศึกษากรณีตัวอย่างการจัดตั้งศูนย์บริการทางสังคมสำหรับผู้สูงอายุ. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิตสาขาประชากรศาสตร์บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543.

ศรีเรือน แก้วกังวาน. จิตวิทยาพัฒนาการชีวิตทุกช่วงวัยวัยรุ่น-วัยสูงอายุ. (พิมพ์ครั้งที่ 8 แก้ไขเพิ่มเติม). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2545.

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย, บริษัท. ปีผู้สูงอายุสากลพ.ศ. 2542: ความหวังคนชราไทย.วารสารกสิกรไทย, ปีที่ 4 ฉบับที่ 509 (วันที่ 30พฤศจิกายน 2541).

สิริกันยา ปานพ่วงศรี. การจัดสวัสดิการของภาครัฐแก่ผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์สังคมวิทยามหาบัณฑิตสาขาสังคมวิทยาบัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543.

สุทธิชัย จิตะพันธ์กุล. สถานะของประชากรสูงอายุไทยในปัจจุบันและการดำเนินการต่างๆ ของประเทศไทย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543.


Refbacks

  • There are currently no refbacks.


ยินดีรับบทความวิชาการทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ที่ยังไม่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ในวารสารใดมาก่อน กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการแก้ไขต้นฉบับและการพิจารณาตีพิมพ์ตามลำดับก่อนหลัง