ส่วนประสมการตลาดกับพฤติกรรมการซื้อครีมกันแดดยี่ห้อนีเวียของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร
Abstract
การศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่องส่วนประสมการตลาดกับพฤติกรรมการซื้อครีมกันแดดยี่ห้อนีเวียของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงค์ของการศึกษาในครั้งนี้คือ เปรียบเทียบพฤติกรรมการซื้อครีมกันแดดยี่ห้อนีเวีย จำแนกตามลักษณะประชากรศาสตร์ ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได้ต่อเดือน อาชีพ และสถานภาพ และศึกษาส่วนประสมการตลาดด้านผลิตภัณฑ์ กับพฤติกรรมการซื้อครีมกันแดดยี่ห้อนีเวีย รวมทั้งศึกษาศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างส่วนประสมการตลาดด้านราคา ด้านช่องทางจัดจำหน่าย และด้านส่งเสริมการตลาดกับพฤติกรรมการซื้อครีมกันแดดยี่ห้อนีเวีย เพื่อนำเอาผลการวิจัยในครั้งนี้ใช้เป็นข้อมูลด้านต่างๆ ให้ผู้บริหารหรือผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องสามารถนำเอาผลการวิจัยครั้งนี้เป็นเครื่องมือในการตัดสินใจกำหนดกลยุทธ์ต่างๆ ทางการตลาดมาปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายมากยิ่งขึ้นอันจะก่อให้เกิดการได้เปรียบทางการแข่งขัน และส่งผลต่อความมั่นคง และความสำเร็จต่อไป
Keywords
Full Text:
PDFReferences
กัญญา สิงหเสนี. (2548). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ระงับกลิ่นกายนีเวียของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการตลาดมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
กัลยา วานิชย์บัญชา. (2547). การใช้ SPSS for windows ในการวิเคราะห์ข้อมูล. กรุงเทพฯ: ซี.เค.แอนด์ โฟโต้สตูดิโอ.
ตุลยา วชิรปรีชาพงษ์. (2548). พฤติกรรมการตดั สนิ ใจซอื้ ผลติ ภณั ฑเ์พอื่ บำรุงผิวพรรณของผู้บริโภคสตรีในเขตกรุงเทพมหานคร. ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการตลาด มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ปณิศา สัญชานนท์. (2548). หลักการตลาด. กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.
ปิยรัตน์ ณ สงขลา. (2546). การสำรวจปัจจัยที่ใช้ในการเลือกเครื่องสำอางเพื่อดูแลผิวพรรณของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการตลาด มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2542). สถิติเศรษฐศาสตร์และธุรกิจ หน่วยที่ 1-8. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
มัลลิกา บุญนาค. (2537). สถิติเพื่อการตัดสินใจ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ระสิกา สมรภูมิพิชิต. (2546). ความคิดเห็นของผู้บริโภคที่มีต่อการตัดสินใจซื้อเครื่องสำอางเคลย์ เดอ โบ่ โบเต้ในเขตกรุงเทพมหานคร. ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการตลาดมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2538). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525. (พิมพ์ครั้งที่5). กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.
วราภรณ์ หวังสถิตพร. (2546). พฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์ บำรุงผิวหน้า (ไวท์เท็นนิ่ง) ของผู้บริโภค. ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการตลาด มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (2541). การบริหารการตลาดยุคใหม่.กรุงเทพฯ: ธีระฟิล์ม และไซเท็กซ์.
ศุกร เสรีรัตน์. (2544). นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา. (พิมพ์ครั้งที่ 4).กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
เสรี วงษ์มณฑา. (2542). การวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: ธีระฟิลม์และไซแทกซ์.
อดุลย์ จาตุรงคกุล. (2546). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อัญชลี ประภายนต์. (2548). ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจและแนวโน้มพฤติกรรมของลูกค้าที่มีผลต่อเครื่องสำอาง อาร์ทิสทรี ในเขตกรุงเทพมหานคร. ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการตลาด มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
อุมาพร บิณษรี. (2545). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมในการตัดสินใจซื้อเครื่องสำอางนำเข้าจากต่างประเทศ ที่จำหน่ายผ่านระบบขายหน้าร้าน. ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการตลาด มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
Kotler P. (1997). Marketing management. Millennium Edition: Prentice Hall. (2000). Marketing management. Millennium Edition: Prentice Hall.
Kotler, P. & Armstrong, Q. (2001). Marketing & Introduction. New Jersey: Pearson Education.
Refbacks
- There are currently no refbacks.
ยินดีรับบทความวิชาการทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ที่ยังไม่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ในวารสารใดมาก่อน กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการแก้ไขต้นฉบับและการพิจารณาตีพิมพ์ตามลำดับก่อนหลัง