การรับรู้ของประชาชนที่มีต่อประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
Abstract
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง (1) ปัจจัยด้านเศรษฐกิจที่มี
ผลกระทบกับปัจจัยด้านการเมือง (2) ปัจจัยด้านการเมืองและปัจจัยด้านเศรษฐกิจที่มีผลกระทบ
กับปัจจัยด้านสังคม และ (3) ปัจจัยด้านการเมือง ปัจจัยด้านเศรษฐกิจและปัจจัยด้านสังคมที่มีผล
ต่อการรับรู้ของประชาชนที่มีต่อการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยใช้การวิจัยเชิงปริมาณ
ให้ประชาชนในพื้นที่อำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว ประกอบด้วย (1) ตำบลป่าไร่ (2) ตำบลผ่านศึก (3) ตำบลคลองน้ำใส และ (4) ตำบลท่าข้าม จำนวน 400 รายตอบแบบสอบถามด้วยตนเอง เหตุผลที่เลือกพื้นที่ดังกล่าวเนื่องจากว่าเป็นพื้นที่
ติดพรมแดนกับประเทศกัมพูชา ในการวิจัยครั้งนี้ ได้ใช้วิธีการวิเคราะห์ถดถอยพหุเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการเมือง ปัจจัยด้านเศรษกิจ ปัจจัยด้านสังคม และการรับรู้ของประชาชนที่มีต่อการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ผลการวิเคราะห์พบว่า (1) ปัจจัยด้านการเมืองขึ้นอยู่กับความร่วมมือทางการค้า ความร่วมมือทางด้านการขนส่ง และความร่วมมือทางด้านการสื่อสาร
(2) ปัจจัยด้านสังคมขึ้นอยู่กับการป้องกันภัยภิบัติ การก่อการร้าย และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และ (3) การรับรู้ของประชาชนที่มีต่อการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนขึ้นอยู่กับการ
ป้องกันภัยพิบัติ การก่อการร้าย ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ความร่วมมือทางด้านการขนส่ง ความร่วมมือทางด้านการสื่อสาร การพึ่งพากันและการเคลื่อนย้ายแรงงาน
Keywords
Full Text:
PDFReferences
พัชรา โพธิ์กลาง. (2555). เราคือประชาคมอาเซียน (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน).
ราช รามัญ. (2556). รวยแน่กับตลาด AEC. กรุงเทพฯ: ไพลินบุ๊คเน็ต จำกัด (มหาชน).
AEC. (2014). What is AEC?. Thai-AEC. Retrieved September 25, 2014, from http://www.thai-aec.com/41
ASEAN. (2014). ASEAN civil service heads map out priorities for post-2015 cooperation. Association of Southeast ASEAN Nation. Retrieved September 29, 2014, from http://www.asean.org
ASEAN News. (2014). ASEAN economic community. Association of Southeast Asian Nations. Retrieved September 25, 2014, from http://www.asean.org
ASEAN News. (2014). ASEAN Investment Area (AIA) Council. Association of Southeast Asian Nations. Retrieved September 29, 2014, from http://www.asean.org
ASEAN Regional Forum. (2014). Australian Government Department of Foreign
Affairs and Trade. Retrieved September 29, 2014, from http://www.dfat.gov.au/arf
ASEAN Social Forestry Network. (2014). Equitable development: Social forestry and
sustainable value chains towards a green economic in ASEAN. International
Forestry Research. Retrieved October 2, 2014, from http://www.cifor.org
Keller, P.E. (2014). Publications. Publications-Home. Retrieved September 28, 2014, from http:/pkpublications.weebly.com
Public Relation News. (2014). Study on impact towards labor after AEC is implemented. Ministry of Labor Research. Retrieved October 2, 2014, from http://www.mol.go.th
Regan, J.O., & Noe. A. (2014). What it is like to see: A Sensorimotor theory of perceptual experience. Springer. Retrieved September 28, 2014, from http:/ling.springer.com
Wikipedia. (2014). ASEN Free Trade Area. The Free Encyclopedia. Retrieved September 29, 2014, from http://en.wikipedia.org
Refbacks
- There are currently no refbacks.
ยินดีรับบทความวิชาการทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ที่ยังไม่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ในวารสารใดมาก่อน กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการแก้ไขต้นฉบับและการพิจารณาตีพิมพ์ตามลำดับก่อนหลัง