ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรทางการเงินในจังหวดัระนอง

เอมอร อ่อนวงศ ์

Abstract


การวจิยัครังนีมีวตัถุประสงคเ์พือศึกษาระดบัประสิทธิภาพและปัจจยัทีมีผลต่อประสิทธิภาพในการ ปฏิบตัิงานของบุคลากรทางการเงินในจงัหวดัระนอง กลุ่มตวัอย่างไดแ้ก่  บุคลากรทางการเงินจงั หวดั ระนอง ของส่วนราชการผเู้บิกประจาํจงัหวดัระนอง จาํนวน 148 คน เครืองมือทีใช ้คือ แบบสอบถาม ดว้ยวิธีการสุ่ม ตวัอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sample) ค่าสถิติทีใชค้ือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลีย ส่วนเบียงเบนมาตรฐาน ค่า  t – test ,F – test , และ ANOVA  ผลการวิจยัพบว่า 1)  ระดับประสิทธิภาพในการปฏิบตัิงานของบุคลากรทางการเงินในจงั หวดั ระนอง อยู่ในระดบัมากทังสามดา้นไดแ้ก่ ดา้ นเวลาเป็นอนั ดบั แรก  อนั ดบั สองมีค่าเฉลียเท่ากัน 2 ดา้น คือ ดา้นผลการปฏิบตัิงานและดา้นตน้ทุนตามลาํดบั 2)  ปัจจัยภายใน/ภายนอก ไดแ้ก่ เพศ สถานภาพ และรายได้ เฉลียต่อเดือนของบุคลากรทางการเงินทีต่างกันมีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบตัิงานไม่แตกต่างกัน ส่วน อายุ ระดบัการศึกษาและตาํแหน่งของบุคลากรทางการเงินทีต่างกันมีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบตั ิงาน แตกต่างกัน อย่างมีนยัสาํคญัทางสถิติทีระดบั 0.05  3)  ปัจจยัเกือกูลและปัจจยั จูงใจของบุคลากรทางการเงิน ทีต่างกันมีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบตัิงานแตกต่างกัน อย่างมีนยัสําคญัทางสถิติทีระดบั 0.05  และ 4)  ปัญหาและอุปสรรค พบว่า ปริมาณงานมีมากแต่บุคลากรมีน้อย แนวทางในการเพิมประสิทธิภาพในการ ปฏิบตัิงานของบุคลากรทางการเงินและขอ้เสนอแนะอืน ๆ พบว่า ควรพฒันาศกัยภาพของบุคลากรให้มี ประสิทธิภาพมากขึน เช่น การจดัอบรมเพิมพูนความรู้อย่างต่อเนือง ทบทวนระเบียบ วิธีการปฏิบตั ิงาน ทางการเงินอย่างสมาํเสมอ จดัทาํคู่มือปฏิบตัิงานการเงิน หรือทาํคู่มือในรูปแบบ VCD เพือง่ายแก่การศึกษา ฯลฯ

Full Text:

Untitled

Refbacks

  • There are currently no refbacks.