การนำหลักธรรมาภิบาลสู่การปฏิบัติในการบริหารงานพัสดุของโรงพยาบาลอุดรธานี

ภาวิณี ศรีสวัสดิ์

Abstract


     การวิจัยครังนีมีวัตถุประสงค์เพือศึกษาแนวทางการบริหารงานพัสดุของโรงพยาบาลอุดรธานี ตาม
หลักธรรมาภิบาล เพือศึกษาสภาพการบริหารงานพัสดุของโรงพยาบาลอุดรธานี ตามหลักธรรมาภิบาล และเพือนำเสนอแนวทางการพัฒนาการบริหารงานพัสดุของโรงพยาบาลอุดรธานี กลุ่มตัวอย่างทีใช้ในการวิจัยได้แก่ เจ้าหน้าทีโรงพยาบาลอุดรธานี จำนวน 338 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครืองมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และสถิติทีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี ร้อยละ ค่าเฉลีย ค่าเบียงเบนมาตรฐาน t-test และ F-test

ผลการวิจัยพบว่า

1. แนวทางการบริหารงานพัสดุของโรงพยาบาลอุดรธานี ตามหลักธรรมาภิบาล ในภาพรวมอยู่ใน
ระดับเห็นด้วยมาก ค่าเฉลีย 3.53 พิจารณารายด้าน เรียงลำดับจากค่าเฉลียมากไปน้อย ได้แก่ หลักการมีส่วนร่วม หลักความโปร่งใส หลักความรับผิดชอบ หลักความคุ้มค่า หลักนิติธรรม และหลักคุณธรรม
ค่าเฉลีย 3.53 , 3.52 , 3.52 , 3.51 , 3.48 , 3.40 ตามลำดับ
2. สภาพการบริหารงานพัสดุตามหลักธรรมาภิบาล พิจารณารายด้าน ดังนี้
หลักนิติธรรม เมือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่าโรงพยาบาลมีการดำเนินการจัดหาพัสดุตาม
ระยะเวลาทีกำหนดในแผนจัดหาพัสดุ คิดเป็นร้อยละ 43.2 รองลงมาคือ โรงพยาบาลมีการกำหนด
โครงสร้างงานต่าง ๆ ได้ตรงตามระเบียบ คิดเป็นร้อยละ 42.3 และ โรงพยาบาลมีการจัดทำแผนการจัดหาพัสดุตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี คิดเป็นร้อยละ 40.5 ตามลำดับ

     หลักคุณธรรม เมือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า โรงพยาบาลมีการตังกรรมการตรวจสอบ
ข้อเท็จจริงอย่างเป็นธรรม เมือพัสดุเกิดความเสียหาย คิดเป็นร้อยละ 44.3 รองลงมาคือ โรงพยาบาลจัดหาพัสดุด้วยความซือสัตย์ สุจริต คิดเป็นร้อยละ 41.7 และโรงพยาบาลมีการจัดสรรงบประมาณในการจัดซือจัดจ้างอย่างทัว ถึง คิดเป็นร้อยละ 41.4 ตามลำดับ

     หลักความโปร่งใส เมือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า โรงพยาบาลเปิดโอกาสให้หน่วยงาน
ภายนอกเข้ามาร่วมตรวจสอบการจัดซือจัดจ้าง คิดเป็นร้อยละ 39.6 รองลงมาคือ โรงพยาบาลมีการประกาศเผยแพร่การจัดซือจัดจ้างให้ทราบ คิดเป็นร้อยละ 37.8 และ โรงพยาบาลมีการรายงานบัญชีรายรับ – รายจ่ายพัสดุให้ทราบ คิดเป็นร้อยละ 36.0 ตามลำดับ

     หลักการมีส่วนร่วม เมือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า โรงพยาบาลให้เจ้าหน้าทีทุกคนมีส่วน
ร่วมในการกำหนดความต้องการใช้พัสดุ คิดเป็นร้อยละ 37.5 รองลงมาคือ โรงพยาบาลให้เจ้าหน้าทีมีส่วนร่วมในการตรวจสอบพัสดุประจำปี คิดเป็นร้อยละ 35.4 และ โรงพยาบาลเปิดโอกาสให้เจ้าหน้าทีมีส่วนร่วมในการเป็นกรรมการจัดซือจัดจ้าง คิดเป็นร้อยละ 34.2 ตามลำดับ

     หลักความรับผิดชอบ เมือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ในกรณีทีมีการร้องเรียนเกียวกับการ
จัดหาพัสดุมีการรายงานให้ผู้บังคับบัญชาทราบ กับ โรงพยาบาลมีการจำหน่ายพัสดุทีเสือมสภาพการใช้งานคิดเป็นร้อยละ 34.8 และ โรงพยาบาลมีการตรวจสอบข้อเท็จจริงในกรณีทีมีการร้องเรียนเกียวกับการจัดหาพัสดุ คิดเป็นร้อยละ 33.9 ตามลำดับ

     หลักความคุ้มค่า เมือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า โรงพยาบาลมีการนำพัสดุทีไม่ได้ใช้งาน
แล้วมาประยุกต์ใช้ใหม่เพือให้เกิดประโยชน์ คิดเป็นร้อยละ 39.0 รองลงมาคือ โรงพยาบาลมีการจัดสรร
งบประมาณอย่างคุ้มค่า คิดเป็นร้อยละ 38.1 และ โรงพยาบาลมีนโยบายรณรงค์การประหยัดพลังงาน คิดเป็นร้อยละ 35.4 ตามลำดับ
3. ผู้ตอบแบบสอบถามได้นำเสนอแนวทางการพัฒนาการบริหารงานพัสดุของ
โรงพยาบาลอุดรธานี โดยสรุปดังนี
หลักนิติธรรม
3.1 ควรจัดซือจัดจ้างให้รวดเร็วตามความต้องการของผู้ใช้และต้องถูกต้องตรงตามระเบียบ
3.2 ในการบริหารการจัดซือจัดจ้าง ควรมอบหมายงานพัสดุให้ผู้มีตำแหน่งหรือหน้าที
โดยเฉพาะ และควบคุมให้เป็นไปตามระเบียบอย่างเคร่งครัด
หลักคุณธรรม
3.3 ผู้บริหารควรให้ความสำคัญกับกระบวนการดำเนินงานเกียวกับการจัดหาพัสดุเนืองจาก
ทุกกระบวนการเกียวข้องกับกฏ ระเบียบ เกิดความเสียงในการทำงาน

3.4 ควรมีการจัดอบรบหลักสูตรทีเน้นการปฏิบัติตามหลักคุณธรรมและจริยธรรมในการ
ปฏิบัติงานให้กับเจ้าหน้าที
หลักความโปร่งใส
3.5 การจัดซือจัดจ้างควรให้เจ้าหน้าทีภายนอกสามารถเข้ามาตรวจสอบได้
3.6 ควรจะมีการประกาศเผยแพร่จัดซือจัดจ้างให้ประชาชนรับทราบ
หลักการมีส่วนร่วม
3.7 ควรเชิญผู้เกียวข้องร่วมชีแจงงบประมาณทีได้รับจัดสรรในแต่ละปี
หลักความรับผิดชอบ
3.8 สร้างจิตสำนึกให้เจ้าหน้าทีมีความรับผิดชอบต่อตนเองในการเบิกวัสดุครุภัณฑ์
หลักความคุ้มค่า
3.9 สร้างจิตสำนึกให้เจ้าหน้าทีในการใช้วัสดุ ครุภัณฑ์ ควรจะดูแลรักษา
ทรัพย์สินของทางราชการเพือให้เกิดความคุ้มค่า และได้รับประโยชน์สูงสุด
3.10 สร้างจิตสำนึกให้เจ้าหน้าทีในการเบิกวัสดุ ครุภัณฑ์ ควรจะเบิกไปใช้เฉพาะทีมีความ
จำเป็น ไม่เบิกไปเก็บไว้ในปริมาณมาก

คำสำคัญ: การนำหลักธรรมาภิบาลสู่การปฏิบัติในการบริหารงานพัสดุ


Full Text:

Untitled

Refbacks

  • There are currently no refbacks.