ศึกษาคุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี

นิโลบล มณีดชติ

Abstract


     วัตถุประสงค์และวิธีดำเนินการวิจัย 1) ศึกษาคุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 2) เปรียบเทียบคุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 3) นำผลการศึกษามาใช้เป็นแนวทางและ
ข้อเสนอแนะในการพัฒนาปรับปรุงคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลในเขต
อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ผู้ให้ข้อมูล คือ ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ พนักงานจ้างตามภารกิจ พนักงานจ้างทัว ไป ขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี จำนวน 186 คน เครืองมือทีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม มีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ และมาตรประมาณค่า 5 ระดับ ตรวจสอบความถูกต้องโดยอาจารย์ทีปรึกษา ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สำเร็จรูป SPSS สถิติทีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลียส่วนเบียงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบค่าเอฟ ทีระดับนัยสำคัญ 0.05

ผลการวิจัย
1.กลุ่มตัวอย่างผู้ตอบแบบสอบถามในภาพรวมมีคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับ เห็นด้วย เมือพิจารณาเป็นรายด้านแล้ว พบว่า ระดับความเป็นจริงอยู่ในระดับ เห็นด้วยมาก มีสองด้าน คือ ด้านการทำงานร่วมกันและความสัมพันธ์กับบุคคลอืนคิดเป็นร้อยละ 4.48 และด้านลักษณะงานมีส่วนเกียวข้องและสัมพันธ์กับสังคมโดยตรงคิดเป็นร้อยละ 4.63 ส่วนทีเหลืออยู่ในระดับเห็นด้วย รองลงมา คือ ด้านค่าตอบแทนทีเป็นธรรมและเพียงพอ คิดเป็นร้อยละ 4.19 ด้านสิงแวดล้อมทีถูกลักษณะและปลอดภัย

ส่งเสริมสุขภาพคิดเป็นร้อยละ4.15 ด้านเปิดโอกาสให้ผู้ปฏิบัติงานได้พัฒนาความรู้ขีดความสามารถของ
บุคคลคิดเป็นร้อยละ 4.27 ด้านความก้าวหน้าและความมัน คงในงานคิดเป็นร้อยละ4.37 ด้านสิทธิส่วน
บุคคลในสถานทีทำงานคิดเป็นร้อยละ 4.39 และด้านความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงานโดยส่วนรวมคิดเป็นร้อยละ 4.48 เป็นอันดับสุดท้าย


2. การเปรียบเทียบสถานภาพส่วนบุคคลแตกต่างกันมีผลต่อคุณภาพชีวิตแตกต่างกัน จำแนกตาม
ปัจจัยส่วนบุคคลโดยแยกเปรียบเทียบความคิดเห็นทีมีต่อคุณภาพชีวิตในการทำงานในระบบราชการ ตาม
รายด้านทัง 8 ด้าน โดยภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทีระดับ 0.05

คำสำคัญ คุณภาพชีวิตการทำงาน


Full Text:

Untitled

Refbacks

  • There are currently no refbacks.