การพัฒนาหนังสืออ่านประกอบสำ หรับครู เรื่อง ความน่าจะเป็น

จิราวรรณ สุทธินุ้ย

Abstract


การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและพัฒนาหนังสืออ่านประกอบสำหรับครู เรื่องความน่า
จะเป็น และศึกษาความพึงพอใจของครูที่มีต่อการใช้หนังสืออ่านประกอบสำหรับครู เรื่องความน่าจะเป็น
กลุ่มตัวอย่างเป็นครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 ที่สอนวิชาคณิตศาสตร์ ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 ในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 จำนวน 30 คน ซึ่งได้จากการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยหนังสืออ่านประกอบสำหรับครู เรื่อง ความน่าจะเป็น มีค่าความสอดคล้องของผู้เชี่ยวชาญมีค่าเท่ากับ 4.07 แบบสอบความพึงพอใจมีค่าความเชื่อมั่น 0.81 ความพึงพอใจของครูที่มีต่อหนังสืออ่านประกอบสำหรับครูเรื่องความน่าจะเป็นมีค่าความสอดคล้อง 4.26 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติพื้นฐาน เช่น การเปรียบเทียบความพึงพอใจของครูที่มีต่อหนังสืออ่านประกอบ โดยใช้ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า ได้หนังสืออ่านประกอบสำหรับครู เรื่องความน่าจะเป็น ตามโครงสร้างทาง
คณิตศาสตร์ที่มีการสังเคราะห์และเรียบเรียง ผลการประเมินหลังใช้หนังสืออ่านประกอบสำหรับครู เรื่อง
ความน่าจะเป็น พบว่า ครูมีความพึงพอใจต่อการใช้หนังสืออ่านประกอบสำหรับครู เรื่องความน่าจะเป็นอยู่ในระดับมาก


Full Text:

PDF

References


กิดานันท์ มลิทอง. (2546). เทคโนโลยีทางการศึกษา : สื่อการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ :

ภาควิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.

ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2523). นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษากับการสอนระดับอนุบาล.

กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนพานิช.

______ . (2539). เอกสารการสอนชุดวิชาเทคโนโลยี และการศึกษา หน่วยที่ 1- 8. นนทบุรี :

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

______ . (2539). เอกสารการสอนชุดวิชาเทคโนโลยี และการศึกษา หน่วยที่ 8- 15. นนทบุรี :

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

______. (2543). เอกสารการสอนชุดวิชาคณิตศาสตร์ หน่วยที่ 8-15. นนทบุรี :

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ชัยสงคราม เครือหงส์. (2543). ความน่าจะเป็นและสถิติเบื้องต้น. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.

ทิศนา แขมณี. (2552). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ.

กรุงเทพฯ : ด่านสุทธาการพิมพ์.

บุญเกื้อ ควรหาเวช. (2542). นวัตกรรมทางการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ :

ภาควิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.

บุญชม ศรีสะอาด. (2541). นวัตกรรมทางการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : ชมรมเด็ก บุญทัน อยู่สมบูรณ์.

_______. (2539). พฤติกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.

เบญจมาศ ภูฆัง. (2548). การรสร้างหนังสือสำหรับครูเพื่อให้คำปรึกษาแก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา

เรื่อง “ความรักบนกระดานดำ”. ปริญญานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ปรมาภรณ์ อนุพนธ์. (2544). การพัฒนาชุดการสอนคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันแบบสืบสวน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องตรรกศาสตร์เบื้องต้น.ปริญญานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต

สาขาการมัธยมการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.

ประสิทธิ์ ทองแจ่ม. (2551). คณิตศาสตร์สำหรับครูประถมศึกษา. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.

_______. (2556) เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการพัฒนาการ. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.

ประจักร อะนันทา. (2554). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง ความน่าจะเป็น

ของเหตุการณ์วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. วิทยานิพนธ์

ปริญญาครุศาสตร์มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

พรทิพย์ แก้วใจดี. (2545). การพัฒนาชุดกิจกรรมคณิตศาสตร์ที่ใช้ในห้องปฏิบัติการคณิตศาสตร์เพื่อส่งเสริมคุณลกั ษณะทีพึ่งประสงคก์ ารเรียนคณติศาสตร์ สำหรบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3. สารนพิ นธก์ารศกึ ษามหาบัณฑิต สาขาการมัธยมการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.

มณเฑียร ชมดอกไม้ และคณะ. (2537). ผลการใช้กิจกรรมการสอนเพื่อสมรรถภาพการแก้โจทย์ปัญหากับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาการบริหารการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ยุพิน พิพิธกุล และ อรพรรณ ตันบรรจง. (2541). สื่อการเรียนการสอนคณิตศาสตร์.

กรุงเทพฯ : คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ราตรี นันทสุคนธ์. (2542). เอกสารคำสอน การวิจัยการพัฒนาการเรียนการสอน. ครุศาสตร์

มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.

วาสนา พรหมสุรินทร์. (2540). การสร้างชุดการสอนโดยวิธีวิเคราะห์ระบบเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการ

ทางวิทยาศาสตร์สำหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

วรวิทย์ ช่วงชุณห์ส่อง. (2552). การพัฒนาแบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.

วิชัย ชำนิ. (2547). หลักสูตรคณิตศาสตร์. ภาคคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ.

วิชัย วงษ์ใหญ่. (2537). กระบวนการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน ภาคปฏิบัติ.

กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาร์น.

วิเชียร เกตุสิงห์. (2541). คู่มือการวิจัย: การวิจัยเชิงปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพาณิช.

ศึกษาธิการ กระทรวง. (2551). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551.

กรุงเทพฯ: องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.).

ศึกษาธิการ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2545). คู่มือการจัดการเรียนรู้

กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 13). กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2545). มาตรฐานสื่อสิ่งพิมพ์ วิชาคณิตศาสตร์.

กรุงเทพฯ : รากขวัญ.

สนิท สัตโยภาส. (2536). หนังสือและบรรณสารสำหรับเด็ก สหวิทยาลัยล้านนา เชียงใหม่.

สุภรณ์ สภาพงศ์. (2528). หนังสืออ่านเพิ่มเติมกับการเรียนรู้ของเด็กประถมศึกษา. สารพัฒนาหลักสูตร.

สมศักดิ์ โสภณพินิจ. (2528). ความน่าจะเป็นและสถิติเบื้องต้น. กรุงเทพฯ:

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บางแสน.

สุนีย์ ภู่พันธ์. (2546). แนวคิดพื้นฐานการพัฒนาและพัฒนาหลักสูตรยุคปฏิรูปการศึกษา.

เชียงใหม่ : แสงศิลป์.

สุวิทย์ มูลคำ และ อรทัย มูลคำ. (2545). 20 วิธีการจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และ

การเรียนรู้โดยการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง. กรุงเทพฯ : ภาพพิมพ์.

สุภรณ์ สภาพงศ์. (2528). หนังสืออ่านเพิ่มเติมกับการเรียนรู้ของเด็กประถมศึกษา. สารพัฒนา หลักสูตร.

สุภาภรณ์ ทิพย์สุวรรณ. (2543). การพัฒนาชุดการเรียนคณิตศาสตร์แบบเรียนเป็นคู่ของนักเรียน

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. สารนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาการมัธยมการศึกษา

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.

อาภรณ์รัตน์ สารทัศนานันท์. (2544). การสร้างชุดรายวิชาความน่าจะเป็นและสถิติเบื้องต้น

เรื่อง “การทดสอบสมมติฐาน” โดยเน้นปฏิบัติการสำหรับนักศึกษาสถาบันราชภัฏ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ในสถาบันราชภัฏ (พวส.). มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.

อำพล ธรรมเจริญ. (2526). ทฤษฎีความน่าจะเป็นและสถิติ. กรุงเทพฯ :

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บางแสน.

เอมอร สำราญจักร. (2548). การพัฒนาชุดการเรียนการสอนเรื่อง การบวก การลบ จำนวนที่มีผลลัพธ์และตัวตั้งไม่เกิน 100 สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2. ปริญญานิพนธ์ ครุศาสตร์มหาบัณฑิต

สาขาการหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

Bryan, John M and Smith, Jay C. (1975). A Self paced Art History Learning Center at University at

South Carolina. Audio Visual Instruction. 9(1975, November) : 24-25

Good, C.V. (1973). Dictionary of Modules (3re ed.) New York : Mc Graw Hill.

Hergenhahn, B.R. & Olsen, M.H. (1993). An introduction to theories of learning. (4ht ed.) Englewood

Cliffs. New Jersey : prentice Hall.

Houston, W.R. et al. (1972). Developing Instructional Modules, a Modular System for Writing in

Modules College of Modules. Taxas: University of Houston.

Lall, G.R. and Lall, B.M. (1983). Ways children learn. Illinois : Charles C. Thomas Publishers.

Maslow, A.H. (1989). Toward a psychology of being. New York : D. Van Nostrand.

Willson, C. R. (1989). An Analysis of a Direct Instruction Produce in Teaching Word

Problem – Solving to Learning Disabled Student. Dissertation abstracts Instructional.

(02A) : 416.


Refbacks

  • There are currently no refbacks.