การพัฒนารูปแบบการจัดการตลาดกับภูมิปัญญาท้องถิ!นด้านหัตถกรรมการจักสานไม้ไผ่ เพื่อสร้างความเข้มแข็งของชุมชนดงเดือย อำเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย
Abstract
การวิจัยครังนีมีวัตถุประสงค์ (1) เพือศึกษาบริบทการจัดการตลาดกับภูมิปัญญาด้านหัตถกรรมการจักสานไม้ไผ่ของชุมชนดงเดือย อำเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย(2)เพือศึกษาการพัฒนารูปแบบการจัดการตลาดกับภูมิปัญญาท้องถินด้านหัตถกรรมการจักสานไม้ไผ่เพือสร้างความเข้มแข็งของชุมชนดงเดือย อำเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย
ในการศึกษาครังนีใช้ระเบียบวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ ประชากรและกลุ่มตัวอย่างทีใช้ในการวิจัย ได้แก่ประชาชนในชุมชนดงเดือย จำนวน 80 คน ผู้นำและ ผู้เกียวข้องจำนวน 5 คน สมาชิกกลุ่มจักสานไม้ไผ่ 15 คน ผู้จัดจำหน่าย
ผลิตภัณฑ์จักสานไม้ไผ่ 5 คน การดำเนินการวิจัยเป็นวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม เครืองมือทีใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ และการสนทนากลุ่ม นำเสนอข้อมูลเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์เนือหา (Content Analysis)ผลการศึกษาพบว่าบริบทการจัดการตลาดหัตถกรรมจักสานไม้ไผ่ของชุมชนดงเดือยทีผลิตออกจำหน่ายส่วนใหญ่พัฒนามาจากผลิตภัณฑ์แบบเดิม ด้านการกำหนดราคาราคาไม่แน่นอน ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ฝากขายตามร้านค้า และมีพ่อค้าส่งมารับถึงที ส่วนทางด้านการส่งเสริมการตลาดคิดจากเปอร์เซ็นต์ยอดขาย
ด้านแนวทางการพัฒนารูปแบบการจัดการตลาดกับภูมิปัญญาท้องถินด้านหัตถกรรมการจักสานไม้ไผ่เพือสร้างความเข้มแข็งของชุมชนดงเดือย1) ด้านผลิตภัณฑ์ ยึดความเป็นเอกลักษณ์ของท้องถิน นำเทคนิคมาใช้เพือเพิมมูลค่าของผลิตภัณฑ์ 2) ด้านการกำหนดราคา มี 3 รูปแบบ คือตังราคาบวกเพิมจากต้นทุนตังราคาแยกตามกลุ่มลูกค้า ตังราคาตามความแตกต่างของผลิตภัณฑ์เมือเปรียบเทียบกับคู่แข่งขัน3) ด้านช่องทางการจัดจำหน่ายสร้างเครือข่ายการขาย มีตัวแทนการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ สถานทีเพือจัดแสดงและจำหน่ายผลิตภัณฑ์หัตถกรรม การขายตรง การขายทางออนไลน์4) ด้านการส่งเสริมการตลาดได้แก่การประชาสัมพันธ์ ใช้การเผยแพร่ในสือต่างๆทีไม่มีค่าใช่จ่ายและส่งเสริมการขายในรูปแบบต่างๆ
Refbacks
- There are currently no refbacks.