การพัฒนาความใฝ่เรียนรู้โดยการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านตามทฤษฎีด้านจิตพิสัยของบลูม สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

นภัสวรรณ บุญนิธี

Abstract


การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาความใฝ่เรียนรู้ด้านจิตพิสัยโดยการจัดกิจกรรมส่งเสริม
การอ่านตามแนวคิดทฤษฎีของบลูม กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเซนต์ดอมินิก จำนวน 1 ห้องเรียน จำนวนนักเรียนทั้งหมด 35 คน ซึ่งได้มาด้วยวิธีการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบวัดความใฝ่เรียนรู้ก่อน-หลังเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการอ่านตามทฤษฎีด้านจิตพิสัยของบลูม และแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของนักเรียนด้านจิตพิสัยความใฝ่เรียนรู้ขณะ เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการอ่านตามทฤษฎีด้านจิตพิสัยของบลูม ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า ระดับการพัฒนาความใฝ่เรียนรู้ด้วยการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ตามทฤษฎี
ด้านจิตพิสัยของบลูม การทดสอบก่อนเรียนในภาพรวม และรายด้านอยู่ในระดับน้อยที่สุดโดยเรียงลำดับ
ค่าเฉลี่ยมากไปน้อย คือ ด้านตั้งใจด้านการสืบค้นข้อมูลด้านขยันด้านการเข้าร่วมกิจกรรมด้านสรุปความรู้
และด้านการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันสำหรับแบบการสังเกตพฤติกรรมด้านจิตพิสัยรายบุคคลกิจกรรม
แหล่งการค้นควา้ เพือ่ ความใฝเ่ รียนรูน้ กั เรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ในภาพรวมและรายดา้ นอยู่ในระดบั มากที่สุดโดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยมากไปน้อย คือ ด้านขั้นรับรู้ รองลงมา คือ ด้านขั้นเห็นคุณค่า ด้านขั้นกิจนิสัยด้านขั้นปรับระบบ ด้านขั้นสนองตอบ และนำมาทำการวิจัยระดับการพัฒนาความใฝ่เรียนรู้ด้วยการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ตามทฤษฎี ด้านจิตพิสัยของบลูม การทดสอบหลังเรียนในภาพรวม และรายด้าน อยู่ในระดับน้อยโดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยมากไปน้อย คือ ด้านตั้งใจเรียนด้านขยันด้านการสืบค้นข้อมูลด้านการเข้าร่วมกิจกรรม ด้านสรุปความรู้ และ ด้านการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน


Keywords


พัฒนาความใฝ่เรียนรู้; กิจกรรมเสริมการอ่าน

Full Text:

PDF

References


กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุม

สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

จิตสุดา บึงไกล. (2549). การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทยแบบกลุ่มร่วมมือที่ใช้แผนผัง

ความคิดเรื่องการเขียนและการอ่านด้วยการแจงลูกสะกดคำ. การศึกษามหาบัณฑิต หลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ณัฐติกา ขวกเขียว. (2554). การพัฒนารูปแบบการประเมินด้านจิตพิสัยเกี่ยวกับนิสัยรักการอ่าน

ช่วงชั้นที่ 1-2. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิจัยและประเมินผลการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี

บัญญัติ ชำนาญกิจ. (2551). ผลการจัดการเรียนแบบใฝ่รู้ด้วยเทคนิคการเรียนแบบร่วมมือและ

การใช้ผังกราฟิกที่มีต่อพฤติกรรมการเรียนรู้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความพึงพอใจ

ในการเรียนรายวิชาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์. รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ภาควิชาวิทยาศาสตร์

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์. กันยายน.

บุษราคัม มาลัย. (2549). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ในการอ่านภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่เกิดขึ้นจากการเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการอ่านของห้องสมุดโดยการชี้แนะ.

ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการศึกษาและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.

Bloom, B. S.; Engelhart, M. D.; Furst, E. J.; Hill, W. H.; Krathwohl, D. R. (1956). Taxonomy of educational objectives: The classification of educational goals. Handbook I: Cognitive domain. New York: David McKay Company.

Ebel, R., & Frisbie, D.A. (1986). Essentials of Educational Measurement. Englewood Cliff: Prentice-Hall, Inc.

Gable, Robert K. & Wolf, Marian B. (1993). Instrument Development in the Affective Domain:Measuring Attitudes and Values in Corporate and School Settings. Boston: Kluwer Academic Publishers.

Hopkins, C. D., & Antes, R. L. (1990). Classroom testing: Construction. Itasca, IL: F. E. Peacock Publishers.

Krathwohl, D. R., Bloom, B. S., &Masia, B. B. (1973). Taxonomy of educational objectives, the Classification of educational goals.Handbook II: Affective domain. New York: David McKay Co., Inc.

Meyers, C., & Jones, T. (1993). Promoting active learning: Strategies for the college classroom. San Francisco, CA: Jossey-Bass Publishers.

Silberman, M. (1996). Active learning: 101 strategies to teach any subject. Boston: Allyn and Bacon.


Refbacks

  • There are currently no refbacks.