สื่อการเรียนรู้แบบอิเล็กรอนิกส์สำหรับการเรียนซ่อมเสริมเรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนามสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

คณิศร ตั้งพรสมาน

Abstract


วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสื่อการเรียนรู้แบบอิเล็กทรอนิกส์สำหรับการเรียนซ่อมเสริม
เรือ่ ง การแยกตวั ประกอบของพหนุ ามสำหรบั นักเรยี นชั้นมธั ยมศกึษาปที ี่ 2 และเพือ่ เปรยีบเทยีบผลสมัฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2ที่ได้รับการสอนโดยสื่อการเรียนรู้กับการสอนปกติ โดยใช้กลุ่มควบคุมเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
โรงเรียนวัดทรงธรรมจำนวน 30 คน และกลุ่มทดลองเป็นนักเรียนโรงเรียนวัดทรงธรรม จำนวน 30 คน
ซึ่งนักเรียนทั้งสองกลุ่มเป็นนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตํ่ากว่าเกณฑ์ ร้อยละ 50 โดยเลือกแบบสุ่ม
จากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนในภาคการศึกษาที่ผ่านมา เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บ
ข้อมูลคือ สื่อการเรียนรู้แบบอิเล็กทรอนิกส์ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบสอบถาม
ความพึงพอใจของผู้เรียน ผลการวิจัยพบว่าประสิทธิภาพของบทเรียนอยู่ที่ 79.23/74.47 ผลสัมฤทธิ์ทาง
การเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยสื่อการเรียนรู้สูงกว่าการเรียนการสอนแบบปกติ ที่ระดับนัยสำคัญ .01


Keywords


การแยกตัวประกอบของพหุนาม; การเรียนซ่อมเสริม โปรแกรม Moodle

Full Text:

PDF

References


กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ :

องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.

ประภาพร ถิ่นอ่อง. (2553). การพัฒนาแบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต

มหาวิทยาลัยนเรศวร.

พิมพ์ รัตนชมภู. (2550). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาเศรษฐศาสตร์ เรื่องการคลังสาธารณะ โดยระบบ E-Learning โปรแกรม Moodle ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6. รายงานการวิจัยในชั้นเรียนโรงเรียนฟานกว๊านวิทยาคม อ.เมือง จ.พะเยา.

อาณัติ รัตนถิรกุล. (2553). สร้างระบบ E – Leaning ด้วย Moodle ฉบับสมบูรณ์. สำนักพิมพ์ Se-ed

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.(2551). หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม

คณิตศาสตร์ เล่ม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์. องค์การค้าคุรุสภา.


Refbacks

  • There are currently no refbacks.